Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.authorสุจิตรา บุญอยู่-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-06T04:58:06Z-
dc.date.available2020-11-06T04:58:06Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743321934-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69175-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractกาววิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการยออมรับระบบการศึกษาทางไกลของนักศึกษาในโครงการ เครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการยอมรับ ระบบการศึกษาทางไกลของนักศึกษาในโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กับปัจจัยด้าน สถานภาพของนักศึกษา ปัจจัยด้านระบบการศึกษาทางไกล ปัจจัยด้านกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกล และปัจจัยด้าน พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาทางไกล และ (3) ศึกษาปัจจัยที่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลของนักศึกษาในโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพอพัฒนาการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษาจำนวน 904 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษาโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยมี การยอมรับระบบการศึกษาทางไกลในระดับปานกลาง 2. ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้ง 4 ด้าน กับการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลทั้ง 5 ขั้น พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 43 ปัจจัย 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) การเรียนการสอนผ่านระบบ โทรประชุมทางไกลช่วยให้สนใจและเข้าใจเนื้อหาวิชา (2) ประสิทธิภาพในการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา และ (3) การจัดหลักสูตรการศึกษาทางไกลตอบสนองความต้องการด้านการเรียน และพบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ (1) เพศหญิง (2) อายุ 18-20 ปี (3) อายุ 20-23 ปี และ (4) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 3. การวิเคราะห์ถดทอยพหุคูณแบบปกติ (Enter Method) มีปัจจัยที่สามารถอธิบายการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลขั้นการรับรู้ ขั้นการจูงใจ ขั้นการตัดสินใจ ขั้นการนำไปใช้ และขั้นการยอมรับได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 13,13,17,9, และ10 ปัจจัย ตามลำดับ โดยปัจจัยทั้งหมดที่พบในแต่ละขั้นสามารถอธิบายความแปรปรวนของการศึกษาทางไกล ได้เท่ากับ 42.43%, 52.25%, 53.40%, 43.20% และ 43.67% ตามลำดับ และมีปัจจัยที่สามารถอธิบายความแปรปรวนของการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลได้ทุกขั้น จำนวน 2 ปัจจัย คือ (1) การค้นคว้าเพิ่มเติมเมื่ออ่านเอกสารประกอบการเรียนไม่เข้าใจ และ (2) การเตรียมตัวสอบโดยทบทวนเนื้อหาวิชาล่วงหน้า 4. การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น (Stepwise Method) มีปัจจัยที่สามารถร่วมกันอธิบาย ความแปรปรวนของการยอมรับระบบการศึกษาทางไกล ขั้นการรับรู้ ขั้นการจูงใจ ขั้นการตัดสินใจ ขั้นการนำไปใช้ และ ขั้นการยืนยันได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 15,12,16,13, และ 17 ปัจจัยดามลำดับ โดยปัจจัยที่พบในแต่ละขั้น สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลได้เท่ากับ 41.04% ,49.93%, 50.67%, 40.27% และ 42.15% ตามลำดับ และมีปัจจัยที่สามารถอธิบายความแปรปรวนของการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลได้ทุกขั้น จำนวน 1 ปัจจัย คือ ประสิทธิภาพของการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the adoption of distance education system of students in University Network for Education Development Project in Higher Education Institutions under the Jurisdiction of the Ministry of University Affairs (2) to study the relationships between the adoption of distance education of students and four categories of selected variables : student descniptive characteristics, distance education system, teaching-learning activities , and student learning behaviors and (3) to identify predictor variables in the adoption of distance education system. The subjects were 904 students in the University Network for Education Development Project (Uni-net). The finding revealed that : 1. The students in University Network for Education Development Project adopted distance education system in moderate level. 2. There were statistically significant positive relationships at .05 level between the adoption of distance education system in five stages and 43 selected variables. The first three variables were (1) learning by Videoconference motivated interest and understanding of subject content 1 (2) the efficiency in communicating subject content , and (3) the distance education curriculum has responded to learning needs. There were statistically significant negative relationships at .05 level between the adoption of distance education system in five stages and 4 selected variables. There were (1) 18-20 years of age, (2) female, (3) 21-23 years of age and (4) academic discipline in Physical Sciences. 3. In multiple regression analysis (Enter Method) at .05 level, in knowledge stage, persuasion stage, decision stage, implementation stage and confirmation stage, there were 13, 13, 17, 9, 10 predictor variables together were able to account for 42.43%, 52-25%, 53.40%, 43.20% and 43.67% of the variance. The two variables found in every stage were (1) further study when misunderstand subject content from supplementary books and (2) preparation for examination by studying subject content. 4. In stepwise multiple regression analysis at .05 level, in knowledge stage, presuasion stage, decision stage, implementation stage and confirmation stage, there were 15, 12, 16, 13,1 7 predictor variables together were able to account for 41.04%, 49.93%, 50.67%, 40.27% and 42.15% of the vanance. The only variable found in every stage was the efficiency in communicating subject content.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาen_US
dc.subjectการศึกษาทางไกลen_US
dc.subjectการยอมรับนวัตกรรมen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับระบบการศึกษาทางไกลของนักศึกษา ในโครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeVariables affecting the adoption of distance education system of students in the University Network for Education Development Project in Higher Education Institutions under the jurisdiction of the Ministry of University Affairsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOnjaree.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujittar_bo_front_p.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_ch1_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_ch2_p.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_ch3_p.pdf947.21 kBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_ch4_p.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_ch5_p.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Sujittar_bo_back_p.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.