Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • จินตนา ธันวานิวัฒน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาเซียมซีในด้านประวัติความเป็นมา วิธีการเสี่ยงทายจำนวนใบเซียวซี แหล่งที่พบ เนื้อหา การใช้ภาษา ชนิดของภาษา การแพร่กระจายของใบเซียมซีในสังคมไทย อันได้แก่ การแปล การคัดลอก และดีดแปลงเนื้อหาหรือรูปแบบ ...
  • วรวุฒิ จิราสมบัติ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    เลขไทยประดิษฐ์ขึ้นโดยมีแนวคิดที่เป็นระบบ บทความนี้ผู้เขียนพบว่า 1. เลขฐานสิบ 2. การกลับด้านตัวเลข 3. การเติมเส้น และ 4. ทิศทางด้านซ้ายและขวาสัมพันธ์กับความหมายของตัวเลขและการประดิษฐ์ตัวเลขไทย
  • ชาญวิทย์ ทัดแก้ว (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    ระบบวรรณะเป็นการแบ่งชนชั้นทางสังคมอินเดียตั้งแต่ครั้งที่ชนเผ่าอารยันเดินทางเข้ามาในอินเดีย เมื่อราว 3,500 ปีผ่านมาแล้ว ระบบวรรณะเป็นระบบที่มีขึ้นเพื่อแบ่งคนอารยันกับคนพื้นเมือง ต่อมาระบบวรรณะเข้มงวดมากขึ้นกลายเป็นระบบซึ่ ...
  • ประทุม อังกูรโรหิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    จุดมุ่งหมายของบทความนี้คือการหาอุดมการณ์ที่เป็นเหตุผลเบื้องต้นหลังความพยายามของสมาชิกกลุ่มโซกะกักไกในการเผยแพร่ศรัทธาใน “พระสัทธรรมปุณฑริกสูตร” ซึ่งเป็นแก่นคำสอนของ นิริเซ็นไปทั่วโลกโดยผ่านกิจกรรมด้านต่าง ๆ ผู้เขียนมีข้อ ...
  • ชมนาด ศีติสาร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    นักคติชนวิทยาชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มองว่า ซูโม่ในวัฒนธรรมพื้นบ้านญี่ปุ่นเป็นพิธีกรรม ที่ประกอบขึ้นเพื่อทำนายผลผลิตทางเกษตร และมีความเกี่ยวข้องกับเทศกาล Tanabata และ Obon เพราะมีหลักฐานแสดงว่า ในอดีตมีการจัดพิธีซูโม่ขึ้นในช่ว ...
  • กนกวรรณ เลาหบูรณะกิจ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    บทความนี้ได้นำคำลงท้าย “KANA” “KASHIRA” “DAROUKA” ในภาษาญี่ปุ่นมาวิเคราะห์ความหมายและการใช้ งานวิจัยที่ผ่านมาเกี่ยวกับ “KANA” “KASHIRA “DAROUKA” ได้เสนอว่าทั้งสามคำนี้ไม่แตกต่างกันทางความหมาย และงานวิจัยที่ผ่านมาก็ไม่ได้ ...
  • ลัดดา แก้วฤทธิเดช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    Joururi หรือชื่อเรียกในปัจจุบันว่า Bunraku เป็นศิลปะการแสดงละครหุ่นที่งดงาม มีเสน่ห์ดึงดูดตาดึงดูดใจผู้ชมทั่วโลก ซึ่งใช้ศิลปะการเชิดหุ่นผสมผสานกับการขับร้องลำนำเล่าเรื่องราว แทรกบทสนทนาของตัวละครประกอบเครื่องดนตรี Shamisen ...
  • ทัศนีย์ สินสกุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    เจารปัญจาศิกาเป็นกวีนิพนธ์สันสกฤตที่แสดงศฤงคารรสหรือรสรักได้อย่างซาบซึ้งน่าประทับใจ กวีพิลหณะผู้มีชีวิตอยู่ในคริสตวรรษที่ 11 พรรณนาความงามของเจ้าหญิงผู้เป็นที่รัก และเหตุการณ์ที่ประทับอยู่ในความทรงจำด้วยภาษาที่ไพเราะ ชัดเจน ...
  • บิคเซล, เพเทอร์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
  • ศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร), พระยา, 2365-2434 (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
  • วัลยา วิวัฒน์ศร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    ในบทละครเรื่อง “คอยโกโดต์” แซมมวล เบกเกตต์ สร้างฉากและตัวละครต่างไปจากขนบ ผู้อ่านและผู้ชมสามารถตีความหมายของฉาก บทบาทและบทเจรจาของตัวละครได้หลายนัย ร่วมสร้างความหมายให้แก่ละครเรื่องนี้ได้
  • ธรณินทร์ มีเพียร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    ซเวทาน โตโดรอฟ นักวิจารณ์วรรณคดีชาวฝรั่งเศส ได้จำแนกนวนิยายสืบสวนออกเป็นสามประเภท ได้แก่ นวนิยายปริศนา นวนิยายมืด และนวนิยายระทึกขวัญ โดยอาศัยเกณฑ์โครงสร้างการเล่าเรื่องประกอบกับการวิเคราะห์แก่นเรื่องสำคัญของนวนิยายสืบสว ...
  • รัตนาภรณ์ ธรานุรักษ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    บทความนี้ได้เสนอภาพของ อ็องเดร ฌีด อีกภาพหนึ่งซึ่งแตกต่างจากภาพของนักเขียนผู้ถูกสังคมร่วมสมัยประณามและโจมตีว่าเป็นเฒ่าหัวงูหลอกลวงเด็ก สิ่งที่ฌีดเสนอแนะแก่ผู้อ่านวัยรุ่นในนวนิยายเรื่อง อาหารทางโลก หรือ Les Nourritures ...
  • แพรวโพยม บุณยะผลึก (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    การเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยมีมานานนับได้ประมาณ 100 ปีแล้วโดยที่ผู้เรียนมีพจนานุกรมไทย-ฝรั่งเศสขนาดเล็กย่นย่อเป็นเครื่องมือการศึกษาเพียงหนึ่งเล่มเท่านั้น แม้ปัจจุบันจะมีการเรียนการสอนแปลและล่ามอย่างเป็นระบบเอกเท ...
  • อุทัยวรรณ กุลสันติธำรงค์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    จีนเริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกอย่างเป็นทางการภายหลังสงครามฝิ่น นับแต่นั้นเป็นต้นมา ชาวต่างประเทศเข้ามาพำนับอาศัยตามเมืองท่า ตัวเมืองและชุมชนสำคัญต่าง ๆ แม้ชาวต่างประเทศมีจำนวนเพิ่มขึ้น แต่วิถีชีวิตแบบจีนเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ...
  • เฉลิม มากนวล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    หนังสือชื่อ “อ่านอย่างไรเขียนอย่างไร” ของราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2527 ให้คำอ่านออกเสียงขัดแย้งกับคำอ่านที่ให้ไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 และในตำราหลักภาษาไทยฉบับมาตรฐาน โดยอ้างความนิยมเป็นหลัก ทำให้เกิดความสับ ...
  • หนึ่งฤดี โลหผล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเยือนอิตาลีในปี พ.ศ. 2440 และ 2450 พระองค์ทรงติดต่อกับศิลปินชาวฟลอเรนซ์หลายท่านด้วยพระราชประสงค์ต่าง ๆ กันที่เมืองฟลอเรนซ์ เอโดอาร์โด เจลลิ และมิเคเล กอร์ดิจานิ ...
  • วัลยา วิวัฒน์ศร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    ในปัจจุบันมีผู้ใช้คำเชื่อมและคำบุพบทบางคำของไทย โดยเฉพาะ “กับ” และ “แก่” ผิดไปจากแบบแผนมากขึ้น บทความนี้คัดวิธีการใช้และตัวอย่างการใช้คำเชื่อมและคำบุพบทดังกล่าวในตำราภาษาไทย ชื่อ มูลบทบรรพกิจ ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2414 ...
  • ปณิธิ หุ่นแสวง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    เมื่ออ่านบทละครเรื่องตาร์ตุฟของโมลิแยร์แล้ว ผู้อ่านและนักวิจารณ์มักเห็นว่าการที่ออร์กงรับตาร์ตุฟเข้ามาไว้ในบ้านจนเกิดปัญหาแก่สมาชิกในบ้านและคนเองก็เกือบถึงหายนะนั้นเป็นเพราะออร์กงมีศรัทธาอันมืดบอดต่อศาสนาและต่อตัวตาร์ตุฟ ...
  • สุด จอนเจิดสิน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    ระหว่างเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1936 ถึง เดือนมีนาคม ค.ศ. 1937 ได้มีความพยายามจัดตั้งสภาอินโดจีน (Indochinese Congress) ขึ้นในโคชินจีน (เวียดนามใต้) โดยคนเวียดนามกลุ่มต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือต่อรองกับรัฐบาลอาณานิคมฝรั่งเศส ...