Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • พรสรรค์ วัฒนางกูร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    กรอบความคิดเรื่องคลาสสิกในวรรณกรรมและดนตรี มีเอกลักษณ์เฉพาะของตะวันตก และมีความเป็นสากลเพียงใด เราสามารถนำกรอบความคิดดังกล่าวมาวิเคราะห์พิจารณาวรรณกรรมไทยได้หรือไม่ เพียงไร การพิจารณาวรรณกรรมไทยจากกรอบความคิด คลาสสิกยุโรป ...
  • สุพรรณี วราทร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การประกวดหนังสือและรางวัลวรรณกรรมมีความสำคัญต่อการพัฒนาหนังสือและส่งเสริมการอ่าน รางวัลหนังสือดีเด่นประจำปีในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เป็นรางวัลวรรณกรรมระดับชาติของไทยที่ดำเนินสืบเนื่องมากกว่าสี่สิบปี และมีหนังสือที่ได้ ...
  • อัควิทย์ เรืองรอง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การใช้คำเรียกและความเปรียบเกี่ยวกับกษัตริย์ใน ยวนพ่ายโคลงดั้น ชี้ชัดว่ากวีใช้เพื่อช่วยสื่อและเน้นย้ำ สาร ด้านเชิดชูสดุดีบุญบารมีและพระคุณสมบัติของกษัตริย์ได้แจ่มชัดและเข้มข้น ทั้งยังสะท้อนแง่คิดอันสัมพันธ์กับบริบททางสังค ...
  • สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    กรณีศึกษาพิธีกรรมฆ่าควายเลี้ยงผีในระบบความเชื่อของชนเผ่าและความสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรรมกับชีวิตของชนเผ่าในเซกอง รวมทั้งศึกษาความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ทำให้ชนเผ่าเหล่านี้ต้องปรับทั้งความเชื ...
  • ธีระพันธ์ ล. ทองคำ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    เสียงในภาษาไทดั้งเดิมซึ่งสืบสร้างโดยฟัง กวย ลี หลายเสียง ไม่ปรากฏในภาษาไทยและภาษาไทถิ่นที่พูดในปัจจุบัน แต่เสียงเหล่านี้ อาทิ *?b *?d *?j *j *g ฯลฯ ยังปรากฏในภาษาตระกูล มอญ-เขมร สาขาบัฮนาริก และกะตูอิกที่พูดในแขวงเซกอง ...
  • Supakarn Iamharit (Faculty of Arts, Chulalongkorn University, 2002)
    To emphasize the value of revenge tragedy, which is not written merely to satisfy the audience’s predilection for horror but, through mayhem and sensational forms of chaos on stage, is designed to illustrate an impartial ...
  • ชมนาด ศีติสาร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    ความสนใจทางด้านคติชนในประเทศญี่ปุ่นเริ่มขึ้นตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 18 หรือ ปลายสมัยเอโดะ ศูนย์กลางของการศึกษาส่วนใหญ่ได้แก่นักปราชญ์แห่งกลุ่ม “โคะกุงะกุ” (กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุ่นโบราณ) เช่น โมะโตะโอะริ โนะรินะงะ ฮิระตะ ...
  • อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    ปฐมสมโพธิสำนวนล้านช้างเป็นวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติพระสิทธัตถโพธิสัตว์ ตั้งแต่ประสูติจนบรรลุธรรมวิเศษได้เป็นพระพุทธเจ้า ปฐมสมโพธิสำนวนล้านช้างเป็นสำนวนที่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นปฐมสมโพธิฉบับสำนวนภาษาถิ่นที่เก่าที่สุด ...
  • วัลยา วิวัฒน์ศร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    การเข้าสู่ตัวบทเป็นกลวิธีหนึ่งที่ผู้ประพันธ์ใช้เพื่อควบคุมทิศทางการอ่านของผู้อ่าน เสนีย์ เสาวพงศ์ ในนวนิยายเรื่อง คนดีศรีอยุธยา ใช้ทั้ง คำนำ ข้อความตัดตอนจากพระราชพงศาวดาร บทเพลง และกถานำบท เป็นเสียงผู้เล่าเรื่อง ...
  • ศิริพร ศรีวรกานต์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    ผลการศึกษาเรื่อง พิน็อคคิโอ ของคริสทีเนอร์ เนอสลิงเงอร์ พบว่า ผู้แต่งยังคงเนื้อหาหลักตาม พิน็อคคิโอ ฉบับของคาร์โล กอลโลดี ทุกประการ เพียงแต่ปรับเปลี่ยนตัวละครเอกให้เป็นหุ่นไม้ที่มีความกตัญญูและความไร้เดียงสา นอกจากนี้ ...
  • ถนอมนวล โอเจริญ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่พบในกระบวนการแปลกวีนิพนธ์เยอรมันเป็นไทยของนิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เรียนวิชาการแปลวรรณกรรมเยอรมันเป็นไทย ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร ...
  • ชูศรี มีวงศ์อุโฆษ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
  • วัลยา วิวัฒน์ศร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    เจ้าชายน้อยเป็นนิทานที่เขียนขึ้นให้ผู้ใหญ่อ่าน แซ็งเตกซูเปรีผู้ประพันธ์ถ่ายทอดความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว เนื่องจากมาตุภูมิถูกยึดครอง เรียกร้องให้ผู้คนหันมาสนใจคุณค่าของมิตรภาพและความรักโดยสร้างตัวละครเจ้าชายน้อยที่บอบบาง ...
  • ชนาเนา วรัญญู (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    เรมงต์ เกอโน นักประพันธ์ฝรั่งเศสศตวรรษที่ 20 แต่งนวนิยายเรื่อง Le Chiendent ขณะแปลหนังสือปรัชญาของเดส์การ์ด เรื่อง Discours de la Methode การแต่งนวนิยายเรื่องนี้ทำให้เขาเลิกแปล อย่างไรก็ตามวลีอมตะของเดส์การ์ดที่ว่า ...
  • พูนศรี เกตุจรูญ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    กวีนิพนธ์กับจิตรกรรมและประติมากรรมแบบเอกซเพรสชันนิสม์มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกัน ทั้งในเรื่องช่วงระยะเวลาประมาณยี่สิบปีในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1905-1925) และแหล่งที่มาของแนวคิด คือการนำเอาความจริงในสังคมสมัยใหม่ด้าน ...
  • สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ขบวนการโรแมนติกเป็นความเคลื่อนไหวทางวงการศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 จนถึงศตวรรษที่ 19 แนวคิดสำคัญของความเคลื่อนไหวนี้คือ การให้ความสำคัญแก่จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึกของตนมากกว่าเหตุผล และการหลุดออกจากรูปแบบท ...
  • ถนอมนวล โอเจริญ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ความทุกข์ระทมของหนุ่ม “แวร์เธ่อ” เป็นนวนิยายสมัย “พายุและแรงผลักดัน” อันมีแก่นเรื่องสะท้อนแนวคิดและโลกทัศน์ของคนเยอรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 18 บางกลุ่มที่ชื่นชมผู้มี “อัจฉริยภาพ” อันได้แก่ สติปัญญา จินตนาการและ “หัวใจ” ...
  • รองรัตน์ ดุษฎีสุรพจน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    มีผู้กล่าวว่า ในกวีนิพนธ์ที่แต่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มีการแสดงความรู้สึกเกลียดชังสตรี (Misogyny) อย่างเด่นชัด และมักมีการสรุปอย่างง่ายๆ ว่าสาเหตุที่เกิดความรู้สึกเช่นนี้ เป็นเพราะกวีทหารหลายคนเป็นชายที่รักร่วมเพศ ...
  • พจี ยุวชิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ที.เอส. เอเลียต ได้ประพันธ์บทกวีส่วนใหญ่ในช่วงเวลาที่โลกประสบวิกฤตการณ์อันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นั่นคือสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ด้วยเหตุนี้ ผลงานเหล่านี้จึงถูกครอบงำด้วยบรรยากาศ ...
  • จินตนา ธันวานิวัฒน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ในหนังสือสามก๊กสำนวนไทยฉบับต่างๆ รวมทั้งบทความที่กล่าวถึงตอนขงเบ้งทำอุบายลวงสุมาอี้ ได้ระบุเครื่องดนตรีที่ขงเบ้งใช้บรรเลงไม่ตรงกัน 3 ชนิด คือ กระจับปี่ พิณ และขิม ในบทความนี้ได้ชี้ให้เห็นว่าเครื่องดนตรีที่ขงเบ้งใช้บรรเลง ...