Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • ทศพร กสิกรรม (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    ในช่วงเวลากล่า 700 ปี ของประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย ได้มีความเปลี่ยนแปลงในหลายรูปแบบเกิดขึ้น บทความนี้เป็นความพยายามที่จะใช้ “กระบวนการไดอาเลคติก” เป็นกรอบในการพิจารณาและทำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น ...
  • ปรีชา ช้างขวัญยืน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นเรื่องที่ชาวไทยเชื่อกันมาช้านานว่าเมื่อฟังแล้วจะได้บุญ ด้วยเชื่อในทานบารมีของพระเวสสันดรอย่างแน่นแฟ้นจนปราศจากข้อสงสัยใด ๆ ในเหตุผลและการตัดสินพระทัยของเวสสันดร ความคิดดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน ...
  • รัชนีกร บุญ-หลง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    แนวพรมแดนของไทยนั้นมีทั้งแนวพรมแดนบกและแนวพรมแดนทะเล แนวพรมแดนบกของไทยส่วนใหญ่เป็นลักษณะภูมิประเทศได้แก่ ภูเขา แม่น้ำ สำหรับแนวพรมแดนทะเลของไทยนั้นอยู่ห่างจากชายฝั่งตอนน้ำลงต่ำสุด 12 ไมล์ทะเล พื้นน้ำชายฝั่งและแนวพรมแดนทะเลเรียกว่า ...
  • ชูศรี มีวงศ์อุโฆษ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    ปัจจุบันภาษาเยอรมันทวีความสำคัญยิ่งขึ้นในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ ทั้งนี้เพราะบทบาทผู้นำทางการเมืองและเศรษฐกิจในทวีปยุโรปและบทบาทมหาอำนาจทางเศรษฐกิจโลกของประเทศเยอรมนี ในประเทศไทยแม้มีการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในระดั ...
  • อู, ซาน เยง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    บทความของ อูซาน เยงกล่าวถึง สงครามข้ามภูมิภาคระหว่างอยุธยากับพม่าในช่วงคริสตศตวรรษที่ 16 อันเป็นยุคสมัยของพระเจ้าตะเบงชเวตี้และพระเจ้าบุเรงนอง อูซานเยงให้รายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหารระหว่างพม่ากับไทย ...
  • ราตรี ธันวารชร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    การซ้อนคำในภาษาไทยเป็นวิธีการสร้างคำขึ้นใช้ในภาษาไทยวิธีหนึ่ง ที่คนไทยนิยมตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยปัจจุบัน วิธีการดังกล่าวเกิดจากการซ้อนคำหรือกลุ่มคำตั้งแต่ 2 ถึง 4 หน่วยที่มีความหมายเหมือนกัน คล้ายคลึงกัน หรือตรงข้ามกัน ...
  • สถาพร ทิพยศักดิ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    วิจารณ์หลักเกณฑ์การทับศัพท์ที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนดขึ้นโดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่ว่าด้วยสระและส่วนที่ว่าด้วยพยัญชนะ วิเคราะห์และตรวจสอบหลักเกณฑ์การ ทับศัพท์ดังกล่าวด้วยหลักเกณฑ์ทางภาษาศาสตร์โดยเฉพาะทฤษฎีทางสัทศาสตร์ ...
  • กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ...
  • ฉัตรชัย พงศ์ประยูร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    ยุคกลางเป็นช่วงเวลาที่เมืองเกิดขึ้นมากที่สุดในยุโรปและบรรดาเมืองเหล่านี้ได้กลายเป็นฐานของระบบเมืองที่สืบเนื่องมาในปัจจุบัน สภาพความสงบเงียบอันเกิดขึ้นประกอบกับการจัดระเบียบสังคมสมัยใหม่ได้เป็นแรงกระตุ้นให้ตัวเมืองเกิดขึ้นรอบ ...
  • สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    บทความนี้กล่าวถึงความเป็นมาของ “พระร่วงโรจนฤทธิ์” พระพุทธรูปปางห้ามญาติซึ่งประดิษฐาน ณ พระวิหารเหนือของพระปฐมเจดีย์ พระพุทธลักษณะและความสำคัญของพระพุทธรูปพระองค์นี้ ตลอดจนพระราชพิธีบรรจุพระบรมราชสรีรางคารของพระบาทสมเด็จพ ...
  • ยุพร แสงทักษิณ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    เรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ของ “รามจิตติ” สะท้อนให้เห็นแนวความคิดสำคัญของผู้ทรงพระราชนิพนธ์ว่าการที่คนไทยที่สำเร็จการศึกษาจากประเทศยุโรปจะรีบเร่งเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นวัฒนธรรมตะวันตกโดยมิได้ใคร่ครวญถึงข้อดีและข้อเสียของ ...
  • ยุพร อร่ามกุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
  • วรรณภา ชำนาญกิจ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความนี้มุ่งแสดงให้เห็นการสื่อพุทธธรรมในกวีนิพนธ์ ชักม้าชมเมืองของ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ อันมีนัยเนื่องกับการปฏิบัติธรรมบูชา เพื่อระลึกถึงพระพุทธคุณ ชักม้าชมเมืองจึงเป็นกวีนิพนธ์พุทธบูชา กวีนำเสนอสาระธรรมเป็นแก่นเรื่อง ...
  • วัชรี รมยะนันทน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    ในวรรณคดีไทยมีเรื่องการส่งจดหมายสื่อสารกันระหว่างตัวละครอยู่หลายเรื่อง บทความเรื่องนี้จะเสนอเฉพาะจดหมายในวรรณคดีเรื่องอิเหนา 2 ฉบับเท่านั้น ได้แก่ จดหมายที่อิเหนามีถึงบุษบา และจดหมายที่ท้าวกุเรปันมีถึงอิเหนา
  • วัชรี รมยะนันทน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    จิตรกรรมที่ปรากฏในวรรณคดีไทย มักจะเป็นภาพวาดของตัวละครเอกในเรื่องซึ่งมีทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง แต่โดยทั่วไปจะเป็นภาพวาดของตัวละครเอกฝ่ายหญิงมากกว่าภาพวาดดังกล่าวนี้เน้นความงดงามที่ทำให้ผู้พบเห็นหลงใหลเป็นจุดสำคัญ ...
  • ธานีรัตน์ จัตุทะศรี (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทอาศิรวาทเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติสมัยใหม่ที่มีแบบแผนการประพันธ์ในลักษณะเดียวกัน บทอาศิรวาทดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นภาพสตรีผู้เป็นพระบรมราชินีนาถในอุดมคติ คือสตรีผู้กอปร ...
  • สุนันท์ อัญชลีนุกูล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความเรื่องพระราชดำรัส “แม่ของแผ่นดิน” สู่ความสุขสมบูรณ์ของอาณาประชาไทย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ จากการศึกษาพระราชดำรัสในสมเด็จพระนางเจ้าฯ ...
  • สุกัญญา สุจฉายา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเพลงปฏิพากย์ภาคกลางไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อพัฒนาการของเพลงปฏิพากย์และบทบาทของเพลงปฏิพากย์ โดยเฉพาะมุ่งศึกษาบทบาทในการนำเสนอเรื่องเพศที่ปรากฏในเพลงชนิดนี้โดยอาศัยแนวพินิจในเชิงประว ...
  • ศิราพร ฐิตะฐาน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
  • ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    พระราชหัตถเลขาในรูปแบบต่าง ๆ ของรัชกาลที่ 4 เป็นผลงานที่มีค่าแก่ผู้อ่านหลายอย่าง ที่เห็นได้เด่นชัดที่สุดคือความรู้เรื่องโบราณที่ไม่มีผู้เขียนบันทึกไว้ เป็นแต่อ้างถึง แต่หาคำอธิบายที่เป็นหลักฐานแน่นอนไม่ได้ เช่น ...