Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ เพียรชอบ-
dc.contributor.authorวัฒนา ชัยพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-24T04:54:55Z-
dc.date.available2012-03-24T04:54:55Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18513-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการสอนของนิสิตฝึกสอน วิชาพลศึกษามหาวิทยาลัยศรีนทรวิโรฒ วิทยาเขตพลศึกษา ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามแบบให้ตรวจคำตอบ มาตราส่วนประเมินค่า และแบบปลายเปิด โดยส่งแบบสอบถามไปยังอาจารย์นิเทศก์ 21 คน อาจารย์พี่เลี้ยง 62 คน และนิสิตฝึกสอน 150 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาทั้งหมดร้อยละ 86 ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ความแปรปรวนนำเสนอในรูปตาราง ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ที่นิสิตฝึกสอนประสบในการฝึกสอนนั้นคือความยากลำบากในการวางแผนการสอนทั้งระยะสั้นระยะยาว ความยากลำบากในการตั้งวัตถุประสงค์ในการสอนเชิงพฤติกรรม ความยากลำบากในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ไม่เห็นข้อบกพร่องและขาดความรู้ในการแก้ไขข้อบกพร่องได้อย่างรวดเร็วถูกต้องทั่วถึง ปัญหาเกี่ยวกับอุปกรณ์และสถานที่นิสิตขาดความคิดริเริ่มในการดัดแปลงอุปกรณ์การสอนให้เหมาะสมกิจกรรม ขาดการนำเครื่องมือทางโสตทัศนูปกรณ์มาช่วยสอน สถานที่ในการสอนไม่เพียงพอ ปัญหาเกี่ยวกับการปกครองชั้นเรียนนิสิตฝึกสอนจำชื่อนักเรียนได้ไม่ครบทุกคน และจำนักเรียนมากเกินกว่าที่จะดูแลรับผิดชอบได้ทั่วถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นกับอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงคือ อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีงานที่ต้องรับผิดชอบมาก ทำให้ไม่มีเวลาในการให้คำแนะนำแก่นิสิตฝึกสอนอย่างเพียงพอ นอกจากนี้แล้ว อาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์พี่เลี้ยงยังขาดประสบการณ์ในการนิเทศการฝึกสอนของนิสิตและขาดการประสานกันอีกด้วย จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนของความคิดเห็น ของอาจารย์นิเทศก์ อาจารย์พี่เลี้ยง และนิสิตฝึกสอน เกี่ยวกับปัญหาด้านการเรียนการสอน การปกครองชั้นเรียน ด้านนักเรียนและอาจารย์นิเทศก์ ผลปรากฏว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์ อาจารย์พี่เลี้ยงและนิสิตฝึกสอน เกี่ยวกับปัญหาด้านอุปกรณ์ โรงเรียน นิสิตฝึกสอน และอาจารย์พี่เลี้ยง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the teaching pro¬blems of physical education student teachers, Srinakharinwirot Univer¬sity, Palasuksa campus. Three sets of questionnaires in the forms of check-list, rating-scales, and open-ended were constructed and sent to 21 supervisors, 62 cooperating teachers and 150 student teachers. Eighty percent of ques¬tionnaires were returned. The results were then analyzed in to means, percentages, and through the analysis of variance method. It was found that most of the problems encountered by student teachers were lesson-planning both short and long ranges, setting up the behavioral objectives, and selection and organization of suitable activities according to the stated objectives. In addition, student teacher did not acknowledge their own defects and possess knowledge in solving them simultaneously and corrcetly. Besides, they also lacked facilities and equipment and initiatives in adapting the teaching aids they possessed to appropriate teaching-learning activities. Moreover, audio-visual aids and sports venues were inadequate. Class administration was another problem as student teachers could not remember all the students names and also, the number of students were too great to be able to closely take care of and consequently time for giving advices was not enough. Finally, it was found that there was a poor coordina¬tion between cooprating teachers and supervisors and both lacked adequate experience in supervision. Through the analysis of variance, it was found that the points of view as stated by supervisors, cooperating teachers and student teachers on the problems concerning teaching and learning, class-admi¬nistration, and supervisors themselves was not significantly different at the level of .05. However, there was a significant difference among those of the same groups on the problems concerning equipment, schools, student-teachers and cooperating teachers at the .05 level.-
dc.format.extent409779 bytes-
dc.format.extent379448 bytes-
dc.format.extent579179 bytes-
dc.format.extent295888 bytes-
dc.format.extent1403953 bytes-
dc.format.extent444684 bytes-
dc.format.extent976988 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการฝึกสอนen
dc.titleปัญหาการสอนของนิสิตฝึกสอนวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพลศึกษาen
dc.title.alternativeTeaching problems of physical education student teachers, Srinakharinwirot University, Palasuksa Campusen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVorasak.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wattana_Cha_front.pdf400.17 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_ch1.pdf370.55 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_ch2.pdf565.6 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_ch3.pdf288.95 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_ch4.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_ch5.pdf434.26 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_Cha_back.pdf954.09 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.