Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.authorธนสรรค์ นิรัญราช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-29T09:09:34Z-
dc.date.available2020-03-29T09:09:34Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740304877-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ (XRF), นิวตรอนแอคติเวชัน (NAA) และ อะตอมมิกแอบซอฟชันสเปกโตรโฟโตเมตรี (AA) ถูกนำมาใชวิเคราะห์หาความเข้มข้นโลหะหนักเป็นพิษ 5 ชนิด ได้แก่ ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง นิกเกิล และโครเมียม ที่ถูกดูดซับในแฝกที่รดด้วยนํ้าชะมูลฝอยและนํ้าเสียอุตสาหกรรม โดยปลูกแฝกลุ่มแหล่งพันธุ์สุราษฎร์ธานีในกระถาง แบบสุ่มตลอดที่มี 4 ซํ้า แต่ละกลุ่มรดด้วยนํ้าที่มีความเข้มข้นของนํ้าเสียอยู่ 0, 50, 70 และ 100 เปอร์เซ็นต์ แฝกที่รดด้วยนํ้าชะมูลฝอยถูกเก็บเกี่ยวที่ 90 และ 120 วัน หลังรดนํ้าเสีย ส่วนแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียอุตสาหกรรมถูกเก็บเกี่ยวที่ 45 และ 90 วัน ความสูงของแฝกถูกวัดในช่วงระยะเวลาการทดลอง ซึ่งพบว่า เมื่อความเข้มข้นของนํ้าเสียเพิ่มขึ้น ความสูงและนํ้าหนักแห้งของแฝกจะลดลง ยิ่งไปกว่านั้นแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียที่มีความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ของทั้ง 2 กลุ่ม ตายทั้งหมด ผลการวิเคราะห์โลหะหนักโดยเทคนิคนิวเคลียร์ข้างต้น พบว่า XRF และ AA สามารถวิเคราะห์โลหะหนักพบทั้ง 5 ชนิด ส่วนเทคนิค NAA ตรวจพบได้เฉพาะสังกะสี และโครเมียม ทั้งนี้ เนื่องมาจากในตัวอย่างมีปริมาณโซเดียมสูง ความเข้มข้นของโลหะหนักที่วิเคราะห์ในงานวิจัยนี้ได้จากการวิเคราะห์โดยเทคนิค XRF ซึ่งพบว่า แฝกที่รดด้วยนี้าชะมูลฝอยมีสัดส่วนของความเข้มข้นของ ทองแดง และโครเมียม อยู่ในใบมากกว่าในราก ส่วนแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียอุตสาหกรรมมีสัดส่วนของความเข้มข้นของ สังกะลี ทองแดง นิกเกิล และโครเมียม อยู่ในรากมากกว่าในใบ-
dc.description.abstractเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ (XRF), นิวตรอนแอคติเวชัน (NAA) และ อะตอมมิกแอบซอฟชันสเปกโตรโฟโตเมตรี (AA) ถูกนำมาใชวิเคราะห์หาความเข้มข้นโลหะหนักเป็นพิษ 5 ชนิด ได้แก่ ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง นิกเกิล และโครเมียม ที่ถูกดูดซับในแฝกที่รดด้วยนํ้าชะมูลฝอยและนํ้าเสียอุตสาหกรรม โดยปลูกแฝกลุ่มแหล่งพันธุ์สุราษฎร์ธานีในกระถาง แบบสุ่มตลอดที่มี 4 ซํ้า แต่ละกลุ่มรดด้วยนํ้าที่มีความเข้มข้นของนํ้าเสียอยู่ 0, 50, 70 และ 100 เปอร์เซ็นต์ แฝกที่รดด้วยนํ้าชะมูลฝอยถูกเก็บเกี่ยวที่ 90 และ 120 วัน หลังรดนํ้าเสีย ส่วนแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียอุตสาหกรรมถูกเก็บเกี่ยวที่ 45 และ 90 วัน ความสูงของแฝกถูกวัดในช่วงระยะเวลาการทดลอง ซึ่งพบว่า เมื่อความเข้มข้นของนํ้าเสียเพิ่มขึ้น ความสูงและนํ้าหนักแห้งของแฝกจะลดลง ยิ่งไปกว่านั้นแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียที่มีความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ของทั้ง 2 กลุ่ม ตายทั้งหมด ผลการวิเคราะห์โลหะหนักโดยเทคนิคนิวเคลียร์ข้างต้น พบว่า XRF และ AA สามารถวิเคราะห์โลหะหนักพบทั้ง 5 ชนิด ส่วนเทคนิค NAA ตรวจพบได้เฉพาะสังกะสี และโครเมียม ทั้งนี้ เนื่องมาจากในตัวอย่างมีปริมาณโซเดียมสูง ความเข้มข้นของโลหะหนักที่วิเคราะห์ในงานวิจัยนี้ได้จากการวิเคราะห์โดยเทคนิค XRF ซึ่งพบว่า แฝกที่รดด้วยนี้าชะมูลฝอยมีสัดส่วนของความเข้มข้นของ ทองแดง และโครเมียม อยู่ในใบมากกว่าในราก ส่วนแฝกที่รดด้วยนํ้าเสียอุตสาหกรรมมีสัดส่วนของความเข้มข้นของ สังกะลี ทองแดง นิกเกิล และโครเมียม อยู่ในรากมากกว่าในใบ-
dc.description.abstractalternativeX-ray Fluorescence (XRF), Neutron Activation Analysis (NAA) and Atomic Absorption Spectrophotometry (AA) techniques were used to analyze five heavy toxic metals; Pb, Zn, Cu, Ni and Or; absorbed in vetiver which irrigated by industrial/leachate wastewater. Lowland vetiver grass ecotype Surat Thani were planted in pot using Completely Randomized Design (CRD) with 4 replication. Vetiver in pots were then supplied with water in which there are 0, 50, 70 and 100% concentration of wastewater. The harvestion periods were 90 and 120 days for vetiver irrigated by leachate, 45 and 90 days for industrial wastewater application. The height of plants in both groups were measured during the experiment periods. It has been found that for higher concentration and more amount of wastewater applied caused less plant height and dry matter. Moreover at 100% wastewater, vetiver could not survive. The results of heavy metal concentration analyses show that all five toxic metals could be analyzed by XRF and AA techniques. Only Cr and Zn could be found when using NAA due to high sodium content in the sample. The amount of heavy metal concentrations presented here were determined by XRF technique. The results show that concentration fraction of Cu and Cr have been found more in shoot than in root for vetiver irrigated by leachate while Zn, Cu, Ni and Or have been found in shoot less than in root for vetiver irrigated by industrial wastewater.-
dc.description.abstractalternativeX-ray Fluorescence (XRF), Neutron Activation Analysis (NAA) and Atomic Absorption Spectrophotometry (AA) techniques were used to analyze five heavy toxic metals; Pb, Zn, Cu, Ni and Or; absorbed in vetiver which irrigated by industrial/leachate wastewater. Lowland vetiver grass ecotype Surat Thani were planted in pot using Completely Randomized Design (CRD) with 4 replication. Vetiver in pots were then supplied with water in which there are 0, 50, 70 and 100% concentration of wastewater. The harvestion periods were 90 and 120 days for vetiver irrigated by leachate, 45 and 90 days for industrial wastewater application. The height of plants in both groups were measured during the experiment periods. It has been found that for higher concentration and more amount of wastewater applied caused less plant height and dry matter. Moreover at 100% wastewater, vetiver could not survive. The results of heavy metal concentration analyses show that all five toxic metals could be analyzed by XRF and AA techniques. Only Cr and Zn could be found when using NAA due to high sodium content in the sample. The amount of heavy metal concentrations presented here were determined by XRF technique. The results show that concentration fraction of Cu and Cr have been found more in shoot than in root for vetiver irrigated by leachate while Zn, Cu, Ni and Or have been found in shoot less than in root for vetiver irrigated by industrial wastewater.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก-
dc.subjectหญ้าแฝก-
dc.subjectSewage -- Purification -- Heavy metals removal-
dc.subjectVetiver-
dc.titleการหาปริมาณโลหะหนักในหญ้าแฝกที่ดูดจากน้ำเสียโดยใช้เทคนิควิเคราะห์ทางนิวเคลียร์en_US
dc.title.alternativeDetermination of heavy metal contents in vetiver grass absorbed from wastewater using nuclear analytical techniquesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupitcha.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanasun_ni_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ856.69 kBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch1_p.pdfบทที่ 1671.57 kBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch2_p.pdfบทที่ 21.43 MBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch3_p.pdfบทที่ 31.29 MBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch4_p.pdfบทที่ 41.62 MBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch5_p.pdfบทที่ 5876.45 kBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_ch6_p.pdfบทที่ 6644.54 kBAdobe PDFView/Open
Tanasun_ni_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.