Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญมี เณรยอด-
dc.contributor.authorสุจิตรา อุทธิเสน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-25T02:13:42Z-
dc.date.available2021-06-25T02:13:42Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745774189-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74111-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาการดำเนินการและปัญหาการดำเนินการของโรงเรียนมัธยมศึกษาตามโครงการส่งเสริมระบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 11 1. การดำเนินการระดับโรงเรียน ผู้บริหารแจ้งนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการนิเทศภายในโรงเรียนและมีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนแก่หัวหน้าหมวดวิชา คณะกรรมการการดำเนินการนิเทศเป็นเดียวกันคณะกรรนการวิชาการซึ่งมีหน้าที่ให้ความรู้กับ ผู้ดำเนินการนิเทศ คณะกรรมการดำเนินการนิเทศระดมความคิดร่วมกัน เพี่อกำหนดกรอบแผนงานการนิเทศ โดยพิจารณานโยบายของกรมสามัญศึกษา จุดประสงค์ในการจัดการนิเทศของโรงเรียน คือ เพื่อพัฒนา แก้ปัญหา และยกระดับคุณภาพงานวิชาการ ปัญหาการดำเนินการระดับโรงเรียน ได้แก่ บุคลากรพี่รับทราบนโยบายไม่เข้าใจหลักการ เกี่ยวกับการนิเทศ บุคลากรที่มีส่วนร่วมในการกำหนดกรอบแผนงานการนิเทศขาดความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานและโรงเรียนมีข้อมูลไม่เพียงพอ 2. การดำเนินการระดับหมวดวิชา ครูทุกคนในหมวดวิชาศึกษาปัญหาที่พบจากการปฏิบัติงานของครูเพี่อกำหนดเป็นควานต้องการจำเป็นที่มีความเป็นไปได้ และเขียนโครงการสนองนโยบายของหมวดวิชาโดยจำแนกตามสภาพของหมวดวิชา มีการเตรียมปัจจัยด้านบุคลากรก่อนการลงมือปฏิบัติตาม โครงการ มีการรายงานผลการปฏิบัติงาน เป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้บริหาร เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงานในขั้นตอนต่าง ๆ ประเมินผลโครงการนิเทศโดยการพิจารณาคุณภาพและปริมาณงานที่ปรากฏ เมื่อสิ้นสุดการดำเนินการ ซึ่งมีคณะกรรมการดำเนินการนิเทศของโรงเรียนเป็นผู้กาหนด ปัญหาการดำเนินการระดับหมวดวิชา ได้แก่ ครูไม่ได้รับการแนะนำเกี่ยวกับการวางแผนโรงเรียนไม่มีเอกสาร เพี่อศึกษาประกอบการปฏิบัติงาน ขาดความร่วมมือจากบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน มีงบประมาณจำกัด ไม่มีตารางการรายงานแลการปฏิบัติงานที่แน่นอน บุคลากรขาดความรู้ในการประเมินผล และไม่นำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the implementation and problems of the implementation of the Academic Supervesory System Promotion Project in secondary schools under the Jurisdiction of the Department of General Education, Educational Region Eleven. Research findings indicated as follows: With regards to the implementation at school level the results showed that school administrators informed teachers regarding the policies of organizational supervisory system development, working committee was organized which consisted of heads of subject areas, they were the same as an academic affairs committee and were responsible for advising supervisors with in school. Supervisory framework was set up through working committee meetings in accordance with the policies of the General Education Department by which the objectives were for developing, solving, and promoting academic qualities. Problems found were teachers lack of understanding towards supervision, insufficient knowledge and skills towards supervising among personnel assigned, and in sufficient data available. Regarding the implementation at the subject areas level the finding s revealed that needs assessment which applicable were identified through teachers' performance, projects were developed according to each subject areas' needs and problems, and personnel were assigned prior to project implementation. A written report at the end of each step was required to submit to a school administrator as a method of monitoring. Evaluation criteria’s were both the quality and the quantity of works at the end of the project which will be identified by the working committee. Problems were teachers were not advised regarding planning, in sufficient documents during implementation, lack of cooperation among personnel assigned, insufficient budget, working schedules were unstable, lack of knowledge regarding evaluation among personnel assigned, and the evaluation results were not applied for work improvement.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการนิเทศการศึกษาen_US
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหารen_US
dc.subjectโครงการส่งเสริมระบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนen_US
dc.subjectSupervised studyen_US
dc.subjectHigh schools -- Administrationen_US
dc.titleการศึกษาการดำเนินการของโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามโครงการส่งเสริมระบบการนิเทศงานวิชาการ ภายในโรงเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 11en_US
dc.title.alternativeStudy of the implementation of the academic supervisory system promotion project in secondary school under the jurisdiction of the Department of General Education, educational region elevenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonmee.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchittra_ut_front_p.pdf973.75 kBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_ch1_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_ch2_p.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_ch3_p.pdf753.15 kBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_ch4_p.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_ch5_p.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Suchittra_ut_back_p.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.