Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74227
Title: ความคิดเห็นของข้าราชการรัฐสภาสามัญที่มีต่อบทบาทและความรับผิดชอบของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
Other Titles: Parliamentary secretariat official's opinion on role and responsibility of the members of the House of Representatives
Authors: บังอร มาลาศรี
Advisors: วิทยา สุจริตธนารักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Withaya.S@Chula.ac.th
Subjects: ข้าราชการรัฐสภา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
Members of parliaments
Political participation
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาความคิดเห็นของข้าราชการรัฐสภาสามัญที่มีต่อบทบาทและความรับผิดชอบ ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาถึงความรู้ความเข้าใจ และความคิดเห็นของ ข้าราชการที่มีต่อบทบาทและความรับผิดชอบของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย รวมทั้งบทบาทในฐานะสถาบันทางการเมือง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการรัฐสภาสามัญกับ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผลการศึกษา พบว่า ข้าราชการรัฐสภาสามัญส่วนมากมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพอสมควร สำหรับความคิดเห็นของข้าราชการรัฐสภาสามัญที่มีต่อบทบาทและความรับผิดชอบของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นแบบกลาง ๆ และมักจะ สงวนความคิดเห็นในทางลบ แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่แสดงความเห็นในทางบวกต่อบทบาทและความ รับผิดชอบของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากเงื่อนไขดังต่อไปนี้ คือ 1. ความสนิทสนมคุ้นเคยเป็นการส่วนตัว 2. ความใกล้ชิดในฐานะที่เป็นผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงาน 3. ความรู้สึกที่คาดหวังต่อการพึ่งพาเพี่อความก้าวหน้าในอาชีพ 4. กฎระเบียบที่ควบคุมให้ไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ 5. ความรู้สีกที่ต้องการดำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิของสถาบันนิติบัญญัติ 6. ความไม่มั่นใจต่อภาพลักษณ์เชิงประจักษ์
Other Abstract: This Study intends to clarify the understanding of the officials of the parliamentary secretariat on the roles of the members of the House of Representatives are their responsibility prescribed by law, including their so-called extra parliamentary role or role outside the parliament. It als0 looks into relationship between these officialร and the MP. as superior and inferior. The findings are that the officials offer only mild responses both on role and responsibility of the MP. with clear implication that negative attitudes are withheld, while no real positive attitudes are shown either. This may be caused by (1) mutual intimacy, (2) relationship as superior and inferior, (3) expectation on career path, (4) restraints as prescribed by regulation, (5) care for institutional prestige, and (6) uncertainty as to real image of the institution.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74227
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.337
ISBN: 9746376012
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1997.337
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bangorn_ma_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ936.79 kBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch1_p.pdfบทที่ 11.21 MBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch2_p.pdfบทที่ 21.83 MBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch3_p.pdfบทที่ 32.32 MBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch4_p.pdfบทที่ 41.38 MBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch5_p.pdfบทที่ 51.36 MBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_ch6_p.pdfบทที่ 6772.71 kBAdobe PDFView/Open
Bangorn_ma_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.