Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74985
Title: | การหาปริมาณความเข้มข้นของแมงกานีสในอากาศโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ |
Other Titles: | Determination of manganese concentration in air using x-ray fluorescence technigre |
Authors: | สุทธิพงศ์ กองสมบัติสุข |
Advisors: | ธัชชัย สุมิตร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | อากาศ -- ปริมาณแมงกานีส Air -- Manganese content |
Issue Date: | 2531 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การหาปริมาณความเข้มข้นของแมงกานีสในอากาศโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ โดยใช้หัวรัด HPGe ORTEC MODEL GLP-06165 และ MCA CANBERRA SERIES-40 พบว่าเงื่อนไขที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์โดยใช้ต้นกำเนิดรังสีปฐมภูมิชนิด Pu-238 1.11 GBq (30 mCi) An-241 1.11 GBq (30 mC1) และ Cd-109 (0.74 GBq (20 mCi) คือ ใช้ระยะห่างระหว่างต้นกำเนิดรังสีกับตัวอย่างเท่ากับ 7 มม. 7 มม. และ 5มม. ตามลำดับ เมื่อใช้เวลาในการวิเคราะห์ตัวอย่าง 2000 วินาที พบว่าค่าต่ำสุดของแมงกานีสบนกระดาษกรองชนิดเมมเบรนที่วิเคราะห์ได้มีค่าประมาณ 50 ไมโครกรัม โดยมีความเบี่ยงเบนของข้อมูล 0.813% 0.859% และ 0.900% ตามลำดับ แต่ถ้าใช้กระดาษกรองชนิดเซลลูโลส (Whatman เบอร์ 42) จะวิเคราะห์ค่าต่ำสุดได้ประมาณ 100 ไมโครกรัมโดยมีความเบียงเบนของข้อมูล 0.645% 0.508% และ 0.975% ตามลำดับ และสรุปได้ว่าต้นกำเนิดรังสีปฐมภูมิชนิด Pu-238 มีความเหมาะสมมากที่สุด ผลการเปรียบเทียบการวิเคราะห์ตัวอย่างโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกทั้งระบบ EDX และระบบ WDX นั้นให้ผลทัดเทียมกัน โดยมีระดับนัยสำคัญ 0.01 แต่ระบบ WDX จะวิเคราะห์ปริมาณแมงกานีสได้ต่ำกว่า คือประมาณ 10 ไมโครกรัม และเมื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ตัวอย่างระหว่างเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์กับวิธีอะตอมมิคแอบสอร์ปชันสเปคโตรโฟโตเมตรี ให้ผลทัดเทียมกัน จากการออกเก็บตัวอย่างอากาศในโรงงานถ่านไฟฉายนั้น สามารถตรวจพบค่าความเข้มข้นของแมงกานีสโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ระบบ EDX อยู่ในช่วงตั้งแต่ 0.04 ถึง 47.50 มก./ลบ.ม. |
Other Abstract: | Determination of manganese concentration in air was done by collecting samples on filter. The Energy Dispersive X-ray fluorescence (EDX) analysis was done by using HP Ce detector (ORTEC GLP-06165) with an MCA (CANBERPA SERIES-40). Three exciting sources were used, i.e., 1.11 GBq (30 mCi) Pu-238 1.11 GBq (30 mCi) Am-241 and 0.74 GBq (20 mCi) Cd-109. The optimum distance between these sources and samples were found to be 7, 7 and 5 mm, respectively. The limit of detection of Mn on membrane filter was found to be 50 µg with deviation of 0.813%, 0.859% and 0.900% using the 3 sources. The limit of detection of Mn on cellulose (Whatman #42) was found to be 100 µg with deviation of 0.645%, 0.508% and 0.975% respectively. The Pu-238 source was found to be the most appropriate source for this analysis. Comparison between the EDX method of analysis and WDX, using JSX-60 PA showed that both system would give the same results with 0.01 of significance level. The same could be said when comparing the x-ray fluorescence technique with atomic absorption spectrophotometry. Field test in a dry-cell battery factory gave the values of Mn in air in the range of 0.04 to 47.5 mg/m3 by EDX method. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิวเคลียร์เทคโนโลยี |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74985 |
ISBN: | 9745690015 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthipong_ko_front_p.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch1_p.pdf | 774.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch2_p.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch3_p.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch4_p.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch5_p.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_ch6_p.pdf | 825.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthipong_ko_back_p.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.