Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorสุปรียา อภิวัฒนากร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-02T20:10:22Z-
dc.date.available2020-04-02T20:10:22Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741719515-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64599-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เป็นอาชญากรรมอีกประเภทหนึ่งที่เป็นภัยร้ายแรงและส่งผลกระทบอย่างมากต่อสังคม รวมทั้งก่อให้เกิดมูลค่าความเสียหายอย่างมหาศาลต่อระบบเศรฐกิจในปัจจุบัน การกระทำผิดโดยการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ตเป็นประเภทหนึ่งของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ที่รัฐจะต้องให้ความสำคัญและควบคุมอย่างใกล้ชิด เนื่องจากการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ตเป็นอาชญากรรมที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือในการ กระทำความผิด กอปรกับบทบัญญัติของกฎหมายที่มีอยู่ไม่ทันสมัย ขาดประสิทธิภาพ ทำให้มีข้อจำกัดในการบังคับใช้กฎหมายและใช้อำนาจของรัฐในการป้องกันและปราบปรามต่อการกระทำผิดที่เกิดขึ้น เกิดความยากลำบากแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในการเข้าไปดำเนินการจับกุมผู้กระทำผิดได้ จากการศึกษาพบว่ามีปัญหาในการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญากับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต อาทิเช่น ปัญหาเรื่องการกำหนดฐานความผิด ปัญหาเรื่องผู้กระทำความผิด มาตราการลงโทษไม่เหมาะสมต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น ปัญหาเรื่องการสืบสวนสอบสวนในคดีอาญา ปัญหาเรื่องการรับฟังพยานอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาเรื่องการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเพื่อให้ศาลลงโทษจำเลย และปัญหาเกี่ยวกับองค์กรที่บังคับใช้กฎหมาย ซึ่งในปัจจุบันรัฐบาลได้ตระหนักถึงความเสียหายที่จะตามมา จึงได้มีการยกร่างกฎหมายว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ขึ้น เพื่อบังคับใช้ต่อการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ทั้งนี้ผู้เขียนได้สรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ ข้างต้นที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิดโดยการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต วิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางที่ควรจะเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วย-
dc.description.abstractalternativeComputer Crimes are harmful acts, which have a deep impact on Society since they cause great monetary losses for the global economy. In particular, governments should focus their attention on controlling Internet fraud. While Internet fraud requires hi-technology to commit delinquent acts, present laws are too outdated and inefficient. Moreover, enforcement of these laws is often limited and not performed in timely fashion. Thailand’s laws regarding computer-related crimes are a case in point. Thailand’s Criminal Code does not adequately address computer-related crimes such as Internet fraud. First, the Criminal Code does not adequately define computer related crimes. Second, the Criminal Code does not address how authorities might apprehend and question computer criminals vis-.-vis criminal procedure law, or how electronic evidence is to be handled or presented. Third, the statutory penalties provided in the Criminal Code do not match the damages resulting from computer crimes. The Thai Government has attempted to address these and other problems pertaining to computer related crimes by drafting a Computer Crimes Bill. เท this thesis, the author summarizes this new Bill, comments on its efficiency, and offers some additional suggestions to further tackle computer-related crimes, in particular Internet fraud.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectการฉ้อโกงทางอินเทอร์เน็ต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการฉ้อโกงทางอินเทอร์เน็ตen_US
dc.subjectComputer crimes -- Law and legislationen_US
dc.subjectInternet fraud -- Law and legislationen_US
dc.subjectComputer crimesen_US
dc.subjectInternet frauden_US
dc.titleอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ : ศึกษากรณีการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ตen_US
dc.title.alternativeComputer crime : a study of internet frauden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViraphong.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supreeya_ap_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ792.96 kBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch1_p.pdfบทที่ 1848.56 kBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch2_p.pdfบทที่ 21.44 MBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch3_p.pdfบทที่ 32.42 MBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch4_p.pdfบทที่ 41.93 MBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch5_p.pdfบทที่ 52.18 MBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_ch6_p.pdfบทที่ 61.03 MBAdobe PDFView/Open
Supreeya_ap_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก993.82 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.