Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาศิริ วศวงศ์-
dc.contributor.authorเอกพงศ์ คลังกรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2020-04-19T21:25:59Z-
dc.date.available2020-04-19T21:25:59Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741730454-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65404-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศไทยยังไม่กฎหมายให้ความคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านในประเทศไทยอย่างแท้จริง ทั้งนี้เพราะกฎกระทรวงฉบับที่ 9 ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2542 ได้บัญญัติไว้อย่างชัดเจนว่างานที่รับไปทำที่บ้านนั้นไม่อยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็นผลให้ผู้รับงานไปทำที่บ้านนั้นไม่อยู่ภายใต้บังคับของประราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ผู้เขียนจึงได้ทำการศึกษาถึงสภาพและปัญหาในการทำงานที่รับไปทำที่บ้านและได้ดำเนินการศึกษาวิจัยภาคสนามเฉพาะงานที่รับไปทำที่บ้าน ผลจากการศึกษาพบว่าการที่ไม่มีกฎหมายให้ความคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านในประเทศไทยอย่างแท้จริงส่งผลให้ผู้รับงานไปทำที่บ้านไม่ได้รับความคุ้มครองในเรื่องค่าจ้าง กล่าวคือ ได้รับค่าจ้างที่ต่ำมากได้รับค่าจ้างช้ากว่ากำหนด ถูกหักค่าจ้างหรือถูกปรับอย่างไม่ยุติธรรม หรือไม่ได้รับค่าจ้างเลย และยังไม่ไห้รับความคุ้มครองทางด้านสวัสดิการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยจากการทำงานที่รับไปทำที่บ้าน เช่น มีเวลาพักผ่อนน้อยไม่มีอุปกรณ์ในการบ้องกันอันตรายจากการทำงาน ไม่ได้รับค่าทดแทนและการรักษา พยาบาลอันเกิดจากการเจ็บป่วยหรือประสบอุบัติเหตุจากการทำงานที่รับไปทำ ที่บ้าน เป็นต้นและเมื่อพิจารณาอนุสัญญาฉบับที่ 177 และข้อแนะฉบับที่ 184ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศว่าด้วยงานที่รับไปทำที่บ้าน ประกอบกับกฎหมายเกี่ยวกับงานที่รับไปทำที่บ้านของประเทศฟิลิปปินส์ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอาร์เจนติน่า และประเทศญี่ปุ่นแล้วพบว่า บทบัญญัติ ดังกล่าวได้ให้ความคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านไว้อย่างชัดเจน จึงเห็นไห้ว่ากฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายต่างประเทศได้ให้ความสำคัญและปกป้องสิทธิของผู้รับงานไปทำที่บ้านซึ่งถือว่าเป็นผู้ใช้แรงงานประเภทหนึ่ง ผู้เขียนเห็นว่าเพื่อเป็นการให้ความคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านในประเทศไทย จึงควรมีการบัญญัติกฎหมายคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านไว้โดยเฉพาะ เพราะงานที่รับไปทำที่บ้านเป็นงานที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการจ้างแรงงานทั่วไป และเพื่อให้ได้ผลอย่างแท้จริงควรกำหนดกฎหมายเป็นมาตรฐานขั้นต่ำไว้อย่างกว้าง ๆ แต่ชัดเจน เพื่อให้กฎหมายมีความยืดหยุ่นสามารถบังคับใช้กับงานที่รับไปทำที่บ้านได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแท้จริง-
dc.description.abstractalternativeAt present, there is no law in Thailand for the protection of homeworker. The Ministerial Regulation No. 9 (given on 14th September B.E. 2541) issued under the Labour Protection Act B.E. 2541 has clearly provided that the home work do not fall under the purview of the Labour Protection Act B.E. 2541. This author therefore carried out a study on the nature and problem s arising out of the system w here the also carried out a field research on the home work. The study found that in Thailand there is no law or labour protection for the homeworker. This results in a low pay for those workers, slow payment of wage, a reduction or adjustment of wage in an unjust way or in the worst case to receive now ages at all; on the top of that they do not get protection in terms of welfare, health and safety at home work. In the case of Philippines, Australia, Argentina and Jap an there are clear provisions of labour protection for homeworker. It is obvious that law in foreign countries have given importance to the protection of homeworker. Equally ILO. Has issued Convention No. 177 and Recommendation No. 184 to the effect that the home work should be under Labour Protection Law for home work. This author has the opinion that the protection of homeworker should be governed by a particular legislation, home work is somewhat different from the work done under general employment. This should provide a minimum standard in a broad but clear manner. This would guarantee that the law is flexible and applicable to all sorts of home work.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้รับงานไปทำที่บ้าน -- ไทยen_US
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานen_US
dc.subjectกฎหมายแรงงาน -- ไทยen_US
dc.subjectHome labor -- Thailanden_US
dc.subjectIndustrial safetyen_US
dc.subjectWork environmenten_US
dc.subjectLabor laws and legislation -- Thailanden_US
dc.titleมาตรการในการให้ความคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้านในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeMeasures for the protection of domestic worker in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSudasiri.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ekapong_kl_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ979.42 kBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_ch1_p.pdfบทที่ 1827.94 kBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_ch2_p.pdfบทที่ 22.45 MBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_ch3_p.pdfบทที่ 31.99 MBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_ch4_p.pdfบทที่ 42.26 MBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_ch5_p.pdfบทที่ 51.41 MBAdobe PDFView/Open
Ekapong_kl_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.