Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68062
Title: ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลตำรวจ ที่ได้รับอาหารผ่านเดินทางอาหาร หรือได้รับอาหารทั้งหมดทางหลอดเลือดดำ
Other Titles: Nutritional status of inpatients in Police General Hospital received enteral or parenteral nutrition
Authors: ฐิติพร วงศ์จรรยา
Advisors: อรอนงค์ กังสดาลอำไพ
ทรงชัย สิมะโรจน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
Subjects: โภชนบำบัด
ผู้ป่วย -- แง่โภชนาการ
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการติดตามดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลการศึกษานี้ได้ทำการเก็บข้อมูลจากประวัติการตรวจวัดร่างกายและการวัดค่าทางชีวเคมีของผู้ป่วยแผนกศัลยกรรม โรงพยาบาลตำรวจที่ได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหารจำนวน 18 คน และผู้ป่วยที่ได้รับอาหารทั้งหมดทางหลอดเลือดดำ จำนวน 3 คน ข้อมูลจากประวัติการตรวจวัดร่างกาย และการวัดค่าทางชีวเคมี ได้แก่ ค่าความหนาของชั้นไขมันบริเวณ triceps (triceps skinfold thickness) ขนาดเอว (waist circumference)ขนาดตะโพ(hip circumference)เส้นรอบวงแขน(mid-upper arm circumference) ระดับฮีโมโกลบิน ฮีมาโตคริท อัลบูมิน โกลบูลิน Blood Urea Nitrogen(BUN) โซเดียม โพแทสเซียม คลอไรด์ แมกนีเซียม และ สังกะสี ในผู้ป่วยก่อน และหลังจากได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหารหรืออาหารทั้งหมดทางหลอดเลือดดำ 1 2 และ 3 สัปดาห์ พบว่าค่าต่าง ๆ เหล่านี้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีภาวะทุพโภชนาการตั้งแต่เริ่มต้นศึกษา อาหารที่ผู้ป่วยได้รับเพียงพอที่จะทำให้เกิดสมุดล หรือภาวะโภชนาการของผู้ป่วยไม่ได้แย่ลง แต่สารอาหารเหล่านี้ไม่เพียงพอที่จะทำให้ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยดีขึ้น
Other Abstract: Malnutrition is the cause of decreasing immunity increasing infection length of hospital stay morbidity and mortality of patients Therefore nutritional status should be considered in the treatment of hospitalized patients. In this stud anthropometric and biochemical assessment including triceps skinfold thickness waist circumference hip circumference mid-upper arm circumference hemoglobin hematocrit albumin globulin blood urea nitrogen sodium potassium chloride magnesium and zinc was evaluated in patients admitted to the surgical wards Police General hospital. Eighteen patients received enteral nutrition and 3 patients got total parenteral nutrition. The data of anthropometric and biochemical assessment in patients were assessed before and after the patients received enteral or parenteral nutrition 1,2 and 3 weeks. This results show that the nutritional status of the patients receiving enteral nutrition during the 3 weeks study were not significant difference at 95% confidence Interval. Most patients had been malnutrition before the beginning of this studies. Nutrition support provided in the hospital was sufficient to maintain nutritional status of patients but these nutrients was not enough to improve nutritional status of the patients.
Description: วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: อาหารเคมีและโภชนศาสตร์ทางการแพทย์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68062
ISSN: 9743349642
Type: Thesis
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thitiporn_wo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.08 MBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch1_p.pdfบทที่ 1736.73 kBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch2_p.pdfบทที่ 22.08 MBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch3_p.pdfบทที่ 31.12 MBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch4_p.pdfบทที่ 41.7 MBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch5_p.pdfบทที่ 51.03 MBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_ch6_p.pdfบทที่ 6663.87 kBAdobe PDFView/Open
Thitiporn_wo_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.