Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประโมทย์ อุณห์ไวทยะ-
dc.contributor.authorอุดม จงศักดิ์สวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-08T09:01:29Z-
dc.date.available2021-06-08T09:01:29Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745792888-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73757-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534-
dc.description.abstractในปัจจุบันนี้ การออกแบบไฟส่องสว่างพื้นที่ต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้ออกแบบในการเลือกแบบโคม ฉาย การประมาณจำนวนโคมฉายและการกำหนดจุดเล็งของโคมฉาย ซึ่งการออกแบบที่ได้อาจไม่เป็นการออกแบบที่เหมาะที่สุดได้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอการประยุกต์ใช้เทคนิคการหาค่าเหมาะสมที่สุดสำหรับการคำนวณและออก- แบบไฟส่องสว่างพื้นที่ โดยได้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นในงานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ขนาด 16 บิท ซึ่งใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถใช้คำนวณหาค่าความสว่างเฉลี่ย ค่าความ สม่ำเสมอของความสว่างบนพื้นที่ออกแบบได้ นอกจากนี้ยังสามารถเลือกแบบและประมาณจำนวนโคมฉายที่ จะใช้ส่องสว่าง และสามารถคำนวณหาจุดเล็งของโคมฉายได้โดยให้ค่าความสว่างเฉลี่ยสูงสุดและค่าความสม่ำเสมอของความสว่างไม่ต่ำกว่าที่ต้องการ ผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการออกแบบไฟส่องสว่างพื้นที่ที่เหมาะ ที่สุดที่ให้ผลการคำนวณที่ถูกต้องแม่นยำและรวดเร็ว-
dc.description.abstractalternativeAt present an area lighting design requires designer’s experiences in the selection of flood lightings and aiming points. The result may not be the most sutitable one. This thesis proposes the application of an optimization technique in the area lighting design and calculation. A computer program for use with the 16 bit PC, was developed and usable to calculate the average illuminance, the uniformity on the lighting area. Moreover the designer can use for the selection of floodlights and also to determine the aiming points by the Rosenbrock optimization technique for the highest value of average illuminance and a better uniformity. The desigher can get an optimal design very quick with very accurate results.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการส่องสว่างด้วยไฟฟ้า-
dc.subjectElectric lighting-
dc.titleการออกแบบเหมาะที่สุดสำหรับการส่องสว่างพื้นที่-
dc.title.alternativeOptimum design of area lighting-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Udom_jo_front_p.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch1_p.pdf736.03 kBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch2_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch3_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch4_p.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch5_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch6_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch7_p.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_ch8_p.pdf683.16 kBAdobe PDFView/Open
Udom_jo_back_p.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.