Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65403
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorอัญมณี สัจจาสัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-19T21:08:47Z-
dc.date.available2020-04-19T21:08:47Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741718713-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65403-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารในการปฏิบัติงาน และความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสาร ความพึงพอใจในการสื่อสาร และความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของนักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีจำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสถิติ t-test และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า 1. นักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ มีความพึงพอใจในการติดต่อสื่อสารในองค์การ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ นักสังคมสงเคราะห์มีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงานเสมอ 2. นักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในระดับปานกลางค่อนข้างสูง ประเด็นที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และความสำเร็จในการทำงาน และพบว่าส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านเงินเดือนอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างตํ่า 3. รูปแบบการสื่อสารสองทาง และการสื่อสารแบบล่างขึ้นบน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจในการติดต่อสื่อสารและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 4. รูปแบบการสื่อสารแบบเป็นทางการ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับความพึงพอใจในการติดต่อสื่อสารและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 5. ความพึงพอใจในการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาลงเคราะห์ 6. นักสังคมสงเคราะห์ที่มีลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน 7. รูปแบบการสื่อสาร เป็นตัวแปรที่อธิบายความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ได้มากที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to examine the correlations between communication patterns, communication satisfaction and job satisfaction of social workers in department of public welfares. The samples are 345 social workers in department of public welfares. Frequency, percentage mean, Pearson's product moment correlation coefficient, t-test and multiple regression analysis were employed for the analysis of data SPSS for WINDOWS program was utilized for data processing. Results of the research are as follows : 1. Most of the social workers were moderately satisfied with communication in organization. Good relation among colleagues is most satisfied. 2. Most of the social workers were moderately satisfied with working the assignment of responsibility and achievement gained the most satisfaction. Social workers’ were satisfied with salary at fairly low level. 3. Two-way, upward communication are positively correlated communication satisfaction and job satisfaction. 4. Formal communication is negatively correlated with communication satisfaction and job satisfaction. 5. Communication satisfaction is positively correlated with job satisfaction. 6. The social workers who are different in sex, age, status, education level, major, rank, length of work and salary are not different in job satisfaction. 7. Communication pattern in the variable best explain job satisfaction.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.499-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสื่อสารในองค์การen_US
dc.subjectความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectนักสังคมสงเคราะห์en_US
dc.subjectCommunication in organizationsen_US
dc.subjectJob satisfactionen_US
dc.subjectSocial workersen_US
dc.titleความพึงพอใจในการสื่อสารและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์en_US
dc.title.alternativeCommunication and job satisfaction among social workers in the Department of Public Welfaresen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTanawadee.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.499-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aunyamanee_sa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ825.74 kBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1801.17 kBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_ch2_p.pdfบทที่ 21.85 MBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_ch3_p.pdfบทที่ 3737.49 kBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.38 MBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.22 MBAdobe PDFView/Open
Aunyamanee_sa_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก975.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.