Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • พลี 
    ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    เรื่อง พลี (พะ-ลี) แสดงประวัติความเป็นมาของคำว่า “พลี” ในภาษาไทย โดยมีภูมิหลังเกี่ยวกับเทวปกรณ์ (mythology) ของอินเดียหลายเล่ม โดยเฉพาะคัมภีร์ปุราณะฉบับต่างๆ และมหากาพย์มหาภารตะ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากวรรณคดีพระเวทราว 3500-4000 ปี
  • ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    อปสร เป็น ของวิเศษที่ผุดขึ้นมาจากเกษียรสาคร เมื่อครั้งกวนน้ำทิพย์ในนารายณ์อวตารปางที่ 2 อัปสรเป็นนางน้ำที่มีลักษณะเป็นทิพย์มีความงามและเสน่ห์บาดใจชายอย่างยิ่ง และเป็นสมบัติส่วนกลางของทวยเทพ อัปสรมีอยู่มากแต่ที่มีชื่อเด่น ...
  • ประคอง นิมมานเหมินท์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    วรรณคดีเรื่องปทุมสังกาเป็นวรรณคดีล้านนา ที่น่าสนใจทั้งในด้านลักษณะคำประพันธ์และศิลปะการใช้ภาษา มีเนื้อหาที่แปลกไปจากวรรณคดีนิทานเรื่องอื่น ๆ แม้ว่าจะมีความแตกต่างกับอาสังกชาดก ซึ่งเป็นอรรถกถาชาดกบ้าง เช่น ชื่อพระเอกและนา ...
  • พรทิพย์ พุกผาสุข (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    ภาษาที่ใช้เป็นคำให้พรประกอบด้วยถ้อยคำต่างๆ ที่เป็นมงคล ความหมายมงคล ที่ปรากฏในคำให้พรในโอกาสวันเกิดมีหลากหลาย ได้แก่ ความหมายมงคลเกี่ยวกับความสุข ความสมหวัง สุขภาพแข็งแรง ความเจริญ ความร่ำรวย ความสำเร็จ อายุยืน ความสดชื่น ...
  • นววรรณ พันธุเมธา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    คำ 4 พยางค์ มีอยู่ในข้อเขียนและในถ้อยคำที่เราใช้ในชีวิตประจำวันเป็นอันมาก จำแนกเป็นประเภทต่างๆ ได้มากมาย ทั้งผู้พูดยังมีวิธีสร้างคำ 4 พยางค์ขึ้นใหม่ได้อีกหลายวิธี นอกจากนี้ คำ 4 พยางค์ก็ยังมีปรากฏในภาษาไทยถิ่นและในภาษาไท ...
  • ณัฐกาญจน์ นาคนวล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษา ความสมบูรณ์ของธรรมชาติและความดีงามแห่งจิตวิญญาณในนิราศสมัยใหม่ กวีเน้นย้ำความงามและคุณค่าของธรรมชาติ โดยสอนให้เพื่อนมนุษย์รักและดูแลเอาใจใส่ธรรมชาติ เข้าใจว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติที่ต้องเกื้อกูลกัน ...
  • มงคล เดชนครินทร์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    บทความนี้เสนอเรื่องสนุกและแง่คิดขัน ๆ เกี่ยวกับลักษณะตัวอักษร การสะกดการันต์ การเขียนคำพ้องเสียง การเขียนคำทับศัพท์ การวางรูปตัวอักษร ฯลฯ นอกจากนี้ยังให้ตัวอย่างข้อควรคิดในการอ่านคำที่มีรูปอย่างเดียวกัน แต่ออกเสียงต่างกั ...
  • อิงอร สุพันธุ์วณิช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทวิจัยนี้มุ่งศึกษาความงามของผิวจากตัวบทวรรณคดีไทย ผลวิจัยพบว่า ผิวงามตามความคิดของคนไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นคือผิวเหลืองเหมือนทอง นวลเนียนเรืองรองใสสะอาด อ่อนนุ่ม เกลี้ยงเกลา และมีกลิ่นหอม ...
  • อิงอร สุพันธุ์วณิช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    นับแต่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1826 แล้ว อักษรไทยก็ได้มีวิวัฒนาการมาตามลำดับ บางตัวก็มีการเปลี่ยนแปลงมาก บางตัวก็เปลี่ยนแปลงน้อย ในบทความนี้ผู้เขียนได้เสนอวิวัฒนาการของอักษร ก ซึ่งเป็นตัวอักษ ...
  • อิงอร สุพันธุ์วณิช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทวิจัยนี้มุ่งศึกษาอุดมคติแห่งความสุขในสมัยสุโขทัยโดยการศึกษาจากจารึกต่างๆ ในสมัยสุโขทัย ผลการวิจัยพบว่า จารึกต่างๆ ในสมัยสุโขทัยสามารถสะท้อนอุดมคติแห่งความสุขของคนในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี พิจารณาได้จากความคาดหวังจากการบำเพ็ญบุญ ...
  • อิงอร สุพันธุ์วณิช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    จารึกหลักที่ 44 นับได้กว่าเป็นจารึกอักษรไทยภาคกลางที่เก่าที่สุดเท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน ตัวอักษรบางตัวจะมีลักษณะต่างไปจากตัวอักษรในจารึกที่ค้นพบแถบจังหวัดสุโขทัย ในจารึกหลักนี้จะมีการใช้ไม้ยมกเป็นครั้งแรก และมีการใช ...
  • ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    ข้อบกพร่องในการใช้ภาษาอาจเกิดจากการใช้คำผิดความหมาย การใช้คำผิดความหมายอาจเกิดจากการที่คำมีรูปและเสียงหรือความหมายใกล้เคียงกัน หรืออาจเกิดจากการที่ผู้ใช้ภาษาไม่รู้ความหมายหรือความหมายแฝงของคำ การศึกษาความหมายของคำให้เข้า ...
  • ดิเรกชัย มหัทธนะสิน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
  • ฉิน, หยงหลิน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
  • ชัย มุกตพันธุ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    Due to technical progress. There is in the Thai language a need for new words to express technical terms which are mostly in English. The royal Institue has usually coined words from Thai, Pali or Sanskrit word stocks or ...
  • อนงค์ เอียงอุบล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
  • ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    ข้อบกพร่องในการใช้ภาษาไทยมีอยู่หลายประการ บทความนี้จะเสนอข้อบกพร้อม 3 ประการ คือ การใช้คำผิดความหมาย การใช้คำไม่เข้ากับคำแวดล้อม และการใช้คำผิดหน้าที่ การนำตัวอย่างที่ผิดมากล่าวถึงก็เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจว่าผิดอย่างไร ...
  • ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    ในการพูดหรือเขียน บางครั้งจะมีถ้อยคำซึ่งฟังแปลก สะดุดหู หรือรู้สึกว่าไม่ถูกต้อง ที่เป็นเช่นนั้นอาจเป็นเพราะการใช้ส่วนขยายที่สื่อความซ้ำซ้อน การสร้างคำและสำนวนผิดแปลกไปจากที่เคยใช้กันมา การใช้ถ้อยคำที่ไม่สื่อความหมายหรือส ...
  • ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    การศึกษาเรื่องสำนวนไทยในบทละครนอกเรื่อง คาวี เป็นการช่วยให้คนปัจจุบันสามารถอ่านบทละครนอกเรื่องนี้ได้โดยเข้าใจความหมายของสำนวนและเรื่องราวได้อย่างกระจ่างแจ้งและลึกซึ้งยิ่งขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกดื่มด่ำซาบซึ้งในคุณค่าของบ ...
  • ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    การชมความงามของนางในวรรณคดีแบ่งได้กว้าง ๆ 2 ประเภทคือ การกล่าวชมแบบรวมๆ อย่างหนึ่ง และการกล่าวชมแบบแยกส่วนอีกอย่างหนึ่ง การชมความงามของนางในวรรณคดีมีส่วนสัมพันธ์กับวัฒนธรรมของคนในสังคม และโดยมากแล้วการชมความงามของนางในวร ...