Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูเวช ชาญสง่าเวช-
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.authorนิชาภา พลตื้อ, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2020-05-17T19:43:20Z-
dc.date.available2020-05-17T19:43:20Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.issn9741744323-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65829-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการรับระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (ERP) เข้าไปใช้ในองค์ โดยใช้ปัจจัยทางวัฒนธรรมระดับมหภาค 5 ปัจจัย ซึ่งได้แก่ระยะห่างอำนาจความเป็นปัจเจกบุคคล-ความเป็นกลุ่ม ลักษณะความเป็นชาย-ความเป็นหญิง การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน และพลวัตขงจื๊อหรือการมองอนาคตแบบระยะยาว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ บุคคลในองค์กรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบทรัพยากรวิสาหกิจ ในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย 5 ประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมก๊าซและน้ำมัน อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ อุตสาหกรรมอาหาร โดยมีจำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 307 ตัวอย่าง จาก 21 องค์กร โดยในจำนวนนี้ แบ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงขององค์กรจำนวน 19 คน และเป็นพนังงานระดับกลางจำนวน 288 คน ผลการวิจัยที่สำคัญแบ่งได้ดังนี้ 1) ผลการคำนวณดัชนีทางวัฒนธรรมกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ระยะห่างอำนาจ การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน และ ลักษณะความเป็นชาย มีค่าสูง (หรือมีค่าเท่ากับ 94.2, 84.7 และ 159.0 ตามลำดับ) มีค่าความเป็นปัจเจกบุคคลต่ำ (หรือเท่ากับ 2.0) และมีค่าการมองอนาคตแบบระยะยาวปานกลาง (หรือเท่ากับ 48.5) นอกจากนี้ยังพบว่าประเภทของอุตสาหกรรม ไม่มีผลต่อค่าปัจจัยทางวัฒนธรรม 2) ค่าดัชนีทางวัฒนธรรมในระดับองค์กร ของกลุ่มตัวอย่าง มีค่าไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของ Van Enerdingen and Waarts (2003) และปัจจัยทางวัฒนธรรมระดับมหภาคทั้ง 5 ปัจจัย อาจไม่เพียงพอต่อการนำมาประเมินผลทางวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มตัวอย่าง 3) ปัจจัยอื่นที่สำคัญที่นำไปสู่การรับระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจไปใช้คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และการเพิ่มความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า ซึ่งปัจจัยดังกล่าวสามารถอธิบายได้โดยวัฒนธรรมองค์กรแบบที่ส่งเสริมด้านผลงาน และวัฒนธรรมองค์กรแบบที่มุ่งเน้นไปที่ลูกค้า 4) ปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้องค์กรเลือกซื้อระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจจากผู้ผลิตต่าง ๆ มาใช้คือ ฟังก์ชันการทำงานของระบบมีความเหมาะสมกับองค์กง และความีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของบริษัทผู้ผลิตนั้น 5) ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญของการรับระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจมาใช้งานในองค์กรกลุ่มตัวอย่าง คือ การขาดความรู้ ขาดความเข้าใจของบุคลากรภายในองค์กร และการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงกระบวนการงานภายในองค์กร ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรในประเทศไทยมากขึ้นผู้บริหารองค์กรควร ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาความรู้ความสามารถ ของบุคลากรภายในองค์กรอย่างจริงจัง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the relationship between effects of organization culture factors on the adoption of ERP system by using the five macro- cultural factors. The theme result of study is Power Distance, Uncertainty Avoidance, Individualism-Collectivism, Masculinity-Femininity and Confucian Dynamics or Long-term orientation. The sample population in the research is the personnel in different industries in Thailand who working involves with the ERP system. There are five industries in the research, Textile, Gas and Oil, Automobile, Electronics and Food industries, with 307 examples from 21 companies. These numbers are divided into 19 upper management personnel and 288 middle-level employees. Important results of the research are 1) the result of culture index calculation has found in example groups that high Power Distance, Uncertainty Avoidance and Masculinity-Femininity (equal to 94.2,84.7 and 159.0 respectively), low Individuality (equal to 2.0) and has medium Long-term onentation (equal to 48.5). Moreover, the result has discovered that the type of industries has no effect on culture factors. 2) The cultural indexes of the sample organization are not consistent with those from the research of Van Everdingen and Waarts (2003). This might lead to one assumption that five macro-cultural factors are not enough for correctly evaluating the culture in the organization. 3) other important factors which lead to the adoption of ERP system are the enhancement of working effectiveness, the increase of competitive advantage and the satisfactory of customer. These factors can explain by result oriented and customer oriented cultural factors. 4) Important factors which make organizations to choose different ERP system are how suitable the system functionality is to the company and the system popularity and acceptance. 5) The biggest obstacle in adoption of ERP system is the lack of knowledge and understanding in the system and change resistances in process and organization. Therefore, to encourage the organization in Thailand to create the beneficial ERP innovation more, upper management should seriously support and develop knowledge and capability of personal in the organization-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การ -- ไทยen_US
dc.subjectการวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจen_US
dc.subjectการบริหารงานผลิตen_US
dc.subjectการจัดการอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectCorporate culture -- Thailanden_US
dc.subjectEnterprise resource planningen_US
dc.subjectProduction managementen_US
dc.subjectIndustrial managementen_US
dc.titleผลกระทบของปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กรต่อการรับระบบวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (ERP) ไปใช้โดยองค์กรในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEffects of organizational culture factors on the adoption of enterprise resource planning (ERP) system by organizations in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChuvej.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSomchai.Pua@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nishapa_po_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.05 MBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch1_p.pdfบทที่ 1842.97 kBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch2_p.pdfบทที่ 22.03 MBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch3_p.pdfบทที่ 3775.6 kBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch4_p.pdfบทที่ 4886.53 kBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch5_p.pdfบทที่ 52.1 MBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_ch6_p.pdfบทที่ 6684.96 kBAdobe PDFView/Open
Nishapa_po_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.