Pharm - Research Reports: Recent submissions

  • สุนันท์ พงษ์สามารถ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534)
    สกัดสารคาร์โบไฮเดรตจากเปลือกทุเรียน (Durio zibethinus Linn.) เป็น 2 fraction คือ crude fraction (F I) ได้จากการตกตะกอย aqueous extract จากเปลือกทุเรียนสดด้วย 60% alcohol และ purified fraction (F II) ได้จากการทำ crude extract ...
  • กิตติศักดิ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ; จิระพันธ์ กรึงไกร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539)
    ได้ทำการสกัดเอาสารบริสุทธิ์จากต้นน้ำเต้าลม Nepenthes thorelii Lec. (Nepenthaceae) แยกได้ 5 ชนิด ได้แก่ plumbagin, isoshinanolone, octadecly caffeate, 2-methylnaphthazarin และ droserone เมื่อนำสารเหล่านี้ไปทดสอบฤทธิ์ต้านม ...
  • Parkpoom Tengamnuay; Achariya Sailasuta; Garnpimol C. Ritthidej (Chulalongkorn University, 1998)
    Objective: To evaluate the safety and efficacy of chitosan (CS) as nasal absorption enhances of peptides. Methods: Two types of chitosans, i.e. CS J (free amine chitosan) and CD G (water-soluble glutamate salt), were ...
  • สุรัตนา อำนวยผล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526)
  • สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์; กิตติศักดิ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ; นิจศิริ เรืองรังษี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532)
    ได้ศึกษาคัดเลือกและตรวจสอบเอกลักษณ์เชื้อ actinomycetes ที่สามารถผลิตสารปฏิชีวนะ เชื้อที่แยกได้ส่วนหใญ่สามารถผลิตสารที่ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus ATCC 25923 และ Bacillus aubtilis ATCC 6633, และมีบางไอโซเลต ...
  • สุรัตนา อำนวยผล; ชัยโย ชัยชาญทิพยุทธ; สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาเภสัชเวท (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    จากการเก็บตัวอย่างดินจากหลายบริเวณจำนวน 25 ตัวอย่าง พบว่า แยกเชื้อที่มีลักษณะโคโลนีชื้น สีค้ำด้วย 38 สายพันธุ์ นำเชื้อที่แยกได้มาทดสอบความสามารถในการสร้างสารปฏิชีวนะด้วยวิธี agar disc diffusion พบว่าเชื้อทั้ง 38 ...
  • อารีรัตน์ ลออปักษา; นงลักษณ์ ศรีอุบลมาศ; พีระพันธุ์ ครุธเวโช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    การศึกษาคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 120 ตัวอย่าง พบว่า มีผลิตภัณฑ์ที่เข้ามามาตรฐานเป็นยารับประทาน 12 ตัวอย่าง (10.0%) ยาชง 1 ตัวอย่าง (0.8%) ยาใช้ภายนอก 4 ตัวอย่าง (3.3%) เครื่องดื่มสมุนไพร 10 ตัวอย่าง (8.3%) ...
  • สุนันท์ พงษ์สามารถ; มณีวรรณ สุขสมทิพย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    ศึกษาคุณสมบัติทางชีวภาพของเจลโพลีแซคคาไรด์ (PG) สกัดจากเปลือกของผลทุเรียน (Durio zibethinus L.) เพื่อประเมินคุณสมบัติการทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์อัลฟาอมัยเลสและคุณสมบัติการเก็บกักเก็บสารลิปิด โดยทำการศึกษาในหลอดทดลอง พบว่า ...
  • สุนันท์ พงษ์สามารถ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532)
    สกัดสารคาร์โบไฮเดรตจากเปลือกทุเรียน (Durio zibethinus Linn.) เป็น 2 fraction คือ crude fraction (F I) ได้จากการตกตะกอย aqueous extract จากเปลือกทุเรียนสดด้วย 60% alcohol และ purified fraction (F II) ได้จากการทำ crude extract ...
  • สุนันท์ พงษ์สามารถ; สุรรางค์ อัศวมั่นคง; นรานินทร์ มารคแมน; ปิยวรรณ์ สุรินทร์รัฐ; ลำดวน เศวตมาลย์; ธิติรัตน์ ปานม่วง; จงดี ว่องพินัยรัตน์; พันธุ์ทวี ภักดีดินแดน; ประเสริฐ วุฒิคัมภีร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529)
    จากการตรวจสอบคุณภาพของโปรตีนจากเห็ดเพาะเลี้ยงทั้งหมด 8 พันธุ์ โดยวิธีวิเคราะห์ในหนูขาว และวิธีย่อยโปรตีนภายนอกร่างกาย พบว่าเห็ดที่นำทดลองทั้งหมดมีค่าของดรรชนีต่าง ๆ ที่แสดงคุณภาพของโปรตีนดังนี้ คือ peotein efficiency ratio ...
  • มิตร ปทีปวณิช; สุวรรณา เหลืองชลธาร; ดาราวัลย์ ธัญญะวุฒิ; ชำนาญ ภัตรพานิช; ชนกพรห์ม สุคนธ์พันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    การละลายของตัวยาทีอยู่ในของผสมทางกายภาพของตัวยากับกรดโคลิกที่ได้อัดเป็นเม็ดยารูปแบบ ถูกควบคุมด้วยองค์ประกอบที่อยู่บนพื้นผิวหน้าของยาเม็ดนั้น ส่วนการละลายของตัวยาที่อยู่ในสารผสมอสัณฐานในลักษณะกลาส ที่เกิดจากตัวยากับกรดโคลิก ...
  • ณัฐดา วิโรจน์แสงอรุณ; สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533)
    ได้แยกเชื้อน้ำส้มสายชูจากวัสดุธรรมชาติ ได้แก่ผัก ผลไม้ และดอกไม้ เป็นต้น โดยเลี้ยงเชื้อในอาหารเหลวที่มีเอทธานอล 5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร แยกเชื้อให้บริสุทธิ์โดยวิธี streak plate บนอาหารแข็งที่มีแคลเซียมคาร์บอเนต ...
  • สุวิมล กีรติพิบูล; สมบูรณ์ ธนาศุภวัฒน์; ฐิตาภา เขียวขจี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540)
    งานวิจัยนี้ได้แยกเชื้อแบคทีเรียจากอาหารหมักดองจำนวน 97 เชื้อ และจากน้ำอ้อยจำนวน 28 เชื้อ โดยนำมาทดสอบความสามารถในการผลิต Exopolysaccharides (EPS) บนอาหารเลี้ยงเชื้อ MRS ชนิดแข็งและเหลวที่แปรชนิดของน้ำตาลคือ ซูโครส แลคโตส ...
  • เอกรินทร์ สายฟ้า; ประสาน ธรรมอุปกรณ์; ดวงจิต พนมวัน ณ อยุธยา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531)
  • สัตถาพร สิโรตมรัตน์; เครือวัลย์ พลจันทร; อัมพร ตันประเสริฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    นำตัวอย่างซีรัมหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 512 ตัวอย่าง มาตรวจหาดีเอ็นเอส่วน S gene ของไวรัสตับอักเสบบี (HBV-DNA) ซึ่งเป็นแถบดีเอ็นเอขนาด 431 คู่เบส ด้วยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ศึกษาควบคู่กับการตรวจหาดัชนีในซีรัม ...
  • นงลักษณ์ ศรีอุบลมาศ; อารี ลออปักษา; สารี วิรุฬหผล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534)
    น้ำผึ้งทดสอบ 10 ตัวอย่าง มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ Trichophyton mentagrophytes, Microsporum gypseum, และ Epidermophyton flocccosum โดยมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่าศูนย์กลางของโซนใสอยู่ในช่วง 19.58 ? 0.29, 17.00 ? 0.61 ถึง 29.62 ...
  • สมทรง ลาวัณย์ประเสริฐ; พรพิมล กิจสนาโยธิน; นวลศรี นิวัติศัยวงศ์; มยุรี ตันติสิระ; ชำนาญ ภัตรพานิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ศึกษาผลของวัลโปรอิล มอร์โฟลีน (วีพีเอ็ม) ต่อเอนไซม์ไซโตโครม พี 450 ในตับหนูขาว โดยการฉีดวีพีเอ็ม และวัลโปรอิค แอซิค (วีพีเอ) ซึ่งเป็นสารต้นแบบของวีพีเอ็มในขนาดที่ต้านชักได้ในสัตว์ทดลองจำนวนครึ่งหนึ่ง (100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน ...
  • สมทรง ลาวัณย์ประเสริฐ; พรพิมล กิจสนาโยธิน; นวลศรี นิวัติศัยวงศ์; มยุรี ตันติสิระ; ชำนาญ ภัตรพานิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
  • นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ; กรแก้ว จันทภาษา; สรชัย จำเนียรดำรงการ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    รายงานการวิจัยเรื่องระบบยากับสุขภาพหญิงไทย กรณีศึกษายาคุมกำเนิด เป็นรายงานวิจัยที่จัดทำในเชิงบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและสถานการณ์การใช้ยาคุมกำเนิดของไทยภายใต้ระบบยา ตั้งแต่ขั้นตอนของการคัดเลือก การจัดหา ...
  • วิทยา กุลสมบูรณ์; วรรณา ศรีวิริยานุภาพ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของยา มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ราคาอ้างอิงของยาและจัดทำหลักเกณฑ์และรูปแบบในการนำเสนอข้อมูล ทำการศึกษาโดยการคัดเลือกรายการยาที่ใช้ในมูลค่ามากรวม 62 รายการจากฐานข้อมูลของศู ...