Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา วงษ์กะพัน-
dc.contributor.authorพรรณี จิตไพศาลวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-25T06:49:23Z-
dc.date.available2020-11-25T06:49:23Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746571584-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71001-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่และประสิทธิผลของภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ที่นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสถาบันครอบครัว การวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้กรอบแนวคิดเรื่องการเรียนรู้ ความรู้ และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติจากการชมภาพยนตร์ โฆษณาทางโทรทัศน์ การศึกษาในครั้งนี้ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบการจัดสนทนากลุ่มกับคน รุ่นใหม่ 1 0 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 80 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มคนรุ่นใหม่มีการเรียนรู้ภาพของสถาบันครอบครัวไปในทางบวก เนื่องจากภาพยนตร์โฆษณาได้นำเสนอภาพของครอบครัวที่อบอุ่น มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาซิกในครอบครัว และภาพยนตร์โฆษณายังมีผลทำให้กลุ่มคนรุ่นใหม่มีแนวโน้มในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่จะให้ความสำคัญแก่สถาบันครอบครัวมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าในแต่ละกลุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องครอบครัว และเห็นพ้องต้องกันว่า การใช้แนวคิดดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับสินค้าและบริการ นอกจากนี้รูปแบบการนำเสนอภาพยนตร์โฆษณาเพลงประกอบและผู้แสดงนำที่เหมาะสม มีผลทำให้การสื่อความหมายมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the young generation opinion and to evaluate the effectiveness of a portrayal of family institution in TV commercials. The analysis was undertaken within a conceptual framework of learning theory concerning an acquisition of knowledge and attitude change through exposure of TV advertisement. Focus group dicussion was conducted for data collection from a total of 80 selected samples divided into10 groups. Results showed that young generation had learned about family concept through television J commercials in a positive manner due to ล portrayal of family institution in warm and good! interaction among members of a family. Moreover, the commercial appeared to instigate young generation to be more attentive to their family. Besides, there was no significant difference among each group in relation to their perception of the family concept. They all agreed that the application of the concept had something to do with products and services. The presentation techniques, jingles and presenters in these commercials were also found to tie suitable for helping clearify the messages.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโฆษณาen_US
dc.subjectโทรทัศน์กับครอบครัวen_US
dc.subjectภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์en_US
dc.subjectAdvertisingen_US
dc.subjectTelevision and familiesen_US
dc.subjectTelevision commercialsen_US
dc.titleความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ต่อสถาบันครอบครัวที่ปรากฏในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeYoung generation opinion towards family institution through television commercialsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punnee_ji_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ325.62 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_ch1.pdfบทที่ 1444.85 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_ch2.pdfบทที่ 2804.61 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_ch3.pdfบทที่ 3302.41 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_ch4.pdfบทที่ 4958.57 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_ch5.pdfบทที่ 5606.92 kBAdobe PDFView/Open
Punnee_ji_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก839.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.