Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพวรรณ เลขะวณิช-
dc.contributor.authorธัญวดี รัตนะผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T03:55:07Z-
dc.date.available2020-10-30T03:55:07Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743323287-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68933-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของแรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศ ปัญหา ความต้องการการศึกษาและแนวทางการพัฒนาการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ แรงงานไทยจำนวน 411 คน จากบริษัทจัดหางานจำนวน 20 บริษัท เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพทั่วไปของแรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศส่วนใหญ่เป็นชายมีสถานภาพสมรส อายุระหว่าง 26 - 30 ปี ภูมิลำเนามาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด อาชีพเดิมคือการทำนา มีหนี้สิน กู้เงินจากนายทุนเสียดอกเบี้ยร้อยละ 3.5 - 5 ต่อเดือน จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 งานที่สมัครไปทำคือคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม ต้องการเดินทางไปทำงานที่ประเทศไต้หวัน ด้วยคาดหวังว่าจะได้รับเงินเดือน 15,001 - 20,000 บาทต่อเดือน 2. ด้านสภาพปัญหา พบปัญหาใหญ่ 3 ด้าน คือ 2.1 ปัญหาด้านการมีงานทำ - ปัญหาการสร้างงานชนบท มีไม่เพียงพอ 2.2 ปัญหาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน – ปัญหาไม่มีวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกที่ทันสมัย 2.3 ปัญหาด้านสวัสดิการสังคม – ปัญหาความมั่นคงของงานที่ทำ 3. ความต้องการการศึกษา พบว่า 3.1 การศึกษาด้านความรู้ขั้นพื้นฐาน พบว่า แรงงานต้องการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ 3.2 การศึกษาด้านการรับข่าวสารข้อมูล พบว่า แรงงานต้องการให้จัดหน่วยให้ความรู้ และ ประชาสัมพันธ์ เคลื่อนที่เกี่ยวกับสถานการณ์แรงงานไทยในต่างประเทศ 3.3 การศึกษาด้านการเพิ่มพูนทักษะทางอาชีพ พบว่า แรงงานต้องการสาขาช่างอะไหล่รถยนต์ 4. แนวทางการพัฒนาการศึกษาที่เสนอแนะโดยแรงงานกลุ่มนี้ ได้แก่ 4.1 การพัฒนาด้านความรู้ขั้นพื้นฐาน – ควรสนับสนุนและให้โอกาสแรงงานได้รับการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา 4.2 การพัฒนาด้านการรับข่าวสารข้อมูล - ควรมีระบบการสื่อสารอย่างรวดเร็ว และสม่ำเสมอ เกี่ยวกับแรงงาน 4.3 การพัฒนาด้านการเพิ่มพูนทักษะทางอาชีพ -ควรให้โรงเรียนชุมชนจัดบริการด้านทักษะการ ประกอบอาชีพควบคู่กับการใช้ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the general state of Thai labours to work abroad, their problems and educational needs and suggested guidelines for their educational development. Purposive sampling was applied to select 411 Thai labourers from 20 employment agencies sending Thai labours to work abroad in 1997. questionnaire was the only instrument to collect data. The findings were as follows: 1.General Slate: Thai labours who wanted to work abroad were mostly married males, aged ranging from 26-30 years. Most of them were originally farmers from the Northest with unstable income, being in debt with average interest rate of 3.5-5% per month and Pratom 5-6 completion. The majority of them wanted to work as factory workers in Taiwan expecting to earn approximately 15,001- 20,000 baht per month. 2.Three major problems were found as the followings: 2.1 employment: inadequacy of job availability in the rural areas 2.2 skill development: lack of modern materials for training 2.3 social welfare: no job security 3. Educational needs: the labourers needed the followings: 3.1 basic education: foreign language, especially English learning 3.2 information service: a mobile information service providing knowledge and update labour force 3.3 vocational skill: auto spare parts and mechanics 4. Guidelines for educational development suggested by the labourers as the followings: 4.1 basic education: should support them with continuing and lifelong education (formal and nonformal education) 4.2 information service: should provide them with fast and successive information concerning labour force. 4.3 vocational skill: should encourage community schools to provide them with vocational skills and foreign language especially English.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแรงงาน -- ไทยen_US
dc.subjectกรรมกร -- การศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectแรงงานต่างด้าวไทยen_US
dc.subjectอุปทานแรงงาน -- ผลกระทบจากการศึกษาen_US
dc.subjectการจ้างงานในต่างประเทศen_US
dc.subjectLabor -- Thailanden_US
dc.subjectWorking class -- Education -- Thailanden_US
dc.subjectForeign workers, Thaien_US
dc.subjectLabor supply -- Effect of education onen_US
dc.subjectEmployment in foreign countriesen_US
dc.titleการศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการการศึกษา และแนวทางการพัฒนาการศึกษาของแรงงานไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeA study of state, problems educational needs and guidelines for educational development of Thai labours going to work abroaden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพื้นฐานการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanvadee_ra_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.03 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_ch2_p.pdfบทที่ 22.83 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_ch3_p.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_ch4_p.pdfบทที่ 41.65 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_ch5_p.pdfบทที่ 52.44 MBAdobe PDFView/Open
Tanvadee_ra_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.