Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • Apichai Chantanakajornfung (Chulalongkorn University, 2017)
    It was around the mid-nineteenth century that the guitar almost sank into oblivion due to the rising popularity of the piano. Fortunately, the art of guitar performance was still cultivated by certain figures residing ...
  • พงศ์พูน พิบูลย์เกษตรกิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    บทประพันธ์หลวิชัย คาวี เดอะ มิวสิคัล เป็นบทประพันธ์ที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นจากการศึกษาและตีความนิทานพื้นบ้านเรื่องหลวิชัย คาวี โดยนำเสนอในรูปแบบของละครเพลงซึ่งใช้อารมณ์และความรู้สึกของตัวละครรวมถึงบรรยากาศของฉากแต่ละฉากในการ ...
  • ชุติมา รุ่งโรจน์พานิชกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    ความผูกพันต่อสถานที่ (Sense of Place) คือความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างคนและสถานที่ เป็นการรับรู้ผ่านขั้นพื้นฐานด้านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย์ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส โดยที่การรับรู้เหล่านี้เป็นการสะสม ...
  • ปริญญา ทัศนมาศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    งานวิจัยเรื่อง วิเคราะห์ทางขับร้องเพลงละครและเพลงหน้าพาทย์บทคอนเสิร์ต ตับนางลอย บ้านพาทยโกศล โดยครูอุษา แสงไพโรจน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามูลบทที่เกี่ยวข้องและวิธีการขับร้องเพลงละครและเพลงหน้าพาทย์บทคอนเสิร์ต ตับนางลอยบ ...
  • อภินันทน์ สุมทุมพฤกษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกแบบโฆษณาส่งเสริมสังคมสำหรับปัญหาสังคมที่มีอิทธิพลต่อมิลเลนเนียลเจนเนอเรชั่น โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อค้นหาปัญหาสังคมที่มีอิทธิพลต่อมิลเลนเนียลเจอเนอเรชั่น 2) เพื่อค้นหาหลั ...
  • ธีรพล หอสง่า (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง ประติมากรรมสื่อใหม่ รูปแบบลีลาและรสนิยมในศิลปะยกล้อ มีวัตถุประสงค์สามข้อดังนี้ 1.ศึกษาแนวคิดและกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ผ่านรสนิยมและรูปแบบที่ปรากฏบนรถมอเตอร์ไซค์ช้อปเปอร์ 2. สำรวจรูปแบบของการสร้างสรรค์ที ...
  • ปราชญา สายสุข (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตน้ำตาลโตนด อันเป็นแนวคิดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางดุริยางคศิลป์ ชุด ตาลเมืองเพชร ผู้วิจัยได้ทำการศึกษากระบวนการผลิตน้ำตาลโตนดจากสวนตาลลุงถนอม ภู่เงิน ซึ่งนับว่าเป็นแหล่งเรียนร ...
  • วรพรรณ สุรัสวดี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การวิจัยสร้างสรรค์ ศิลปะสื่อภาพถ่าย: ความรุนแรงในความสงัด มาจากความกลัวความรุนแรงในความไม่ปลอดภัยต่อร่างกายและทรัพย์สินที่มีอยู่ในเมืองหลวงที่เงียบสงัดยามค่ำคืน ความกลัวนี้มาจากการรับข้อมูลข่าวสารอาชญากรรม การบอกกล่าวตัก ...
  • พรนารี ชัยดิเรก (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    ปัจจุบันอุตสาหกรรมแฟชั่นเครื่องหนังในตลาดโลกมีการแข่งขันด้านภาพลักษณ์สินค้าที่สูงมาก การส่งออกสินค้าประเภทนี้ไปประเทศญี่ปุ่นจำเป็นต้องมีการพัฒนาเพื่อยกระดับภาพลักษณ์ในระดับสากลให้มากขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ ...
  • วรพจน์ ส่งเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในอดีตเชื่อกันว่ามีเพียงความศรัทธาต่อศาสนาเท่านั้นที่จะสามารถเปลี่ยนโลกใบนี้ได้ แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อการดำเ ...
  • ธนีพรรณ โชติกเสถียร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การวิจัยเชิงสร้างสรรค์เรื่องไหว้ :ประติมากรรมร่วมสมัย ต้องการถ่ายทอดผลงานศิลปะผ่านงานประติมากรรมแนวคิดเกี่ยวกับไหว้ การทักทายของวัฒนธรรมไทยที่ถ่ายทอดอากัปกิริยา ท่าทีและลีลาการไหว้ลักษณะต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่มีความคู่ขนานกับ ...
  • ทนงจิต อิ่มสำอาง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบมาตรฐานงานออกแบบเรขศิลป์เพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อค้นหาเกณฑ์และรูปแบบองค์ประกอบของเรขศิลป์เพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองสร้างสรรค์ 2) เพื่อค้นหาแนวทางระบบเรขศ ...
  • เตือนตา พรมุตตาวรงค์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    ในกระแสยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อวิถีชีวิตให้เร่งรีบทำให้ขาดความสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจ ก่อให้เกิดความเครียดสะสม พุทธศาสนิกชนต่างหันหน้าเข้ามาพึ่งพระศาสนาเพื่อนำคำสั่งสอนมาปรับใช้ในชีว ...
  • อธิปไตย พรหมสุรินทร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวไวโอลินในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้แสดงไวโอลินประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผู้ประพันธ์ในด้านชีวประวัติ ด้านการประพันธ์เพลงและแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลงของผู้ประพันธ์ ...
  • ภูนที ทาคำ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวกีตาร์คลาสสิกโดย ภูนที ทาคำ มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านต่าง ๆ ของผู้แสดงให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล ทั้งด้านเทคนิคการบรรเลงกีตาร์ การศึกษาประวัติเพลงและผู้แต่ง การวิเคราะห์และตีความบทเพลง รวมถึงการเตรีย ...
  • พันธวิทย์ อัศวเดชเมธากุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย พันธวิทย์ อัศวเดชเมธากุล มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและวิเคราะห์บทเพลง เทคนิคการขับร้องและการนำเสนอบทเพลงด้วยการใช้เสียงประเภทเคาน์เตอร์เทเนอร์ ซึ่งเป็นลักษณะเสียงที่ต้องใช้เทคนิคการขับร้องขั้นสู ...
  • พรพิมล อ้นจู (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวเปียโน มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบทประพันธ์ เพื่อใช้ประกอบเป็นข้อมูลในการทำวิทยานิพนธ์ในระดับมหาบัณฑิตด้านการแสดงเดี่ยวเปียโนโดย พรพิมล อ้นจู เนื้อหาในการวิเคราะห์บทประพันธ์ประกอบไปด้วย ...
  • ชัยพร พวงมาลี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงขับร้องครั้งนี้โดยมีจุดประสงค์ในการถ่ายทอดบทประพันธ์ประเภทคลาสสิกในรูปแบบหลากหลายภาษา และยุคสมัยของคีตกวีชาวตะวันตก ผ่านการประยุกต์เทคนิคการขับร้องของของนักร้องชาวตะวันตกผสมผสานให้เข้ากับกายภาพและลักษณะของนักร้องช ...
  • คชภัค บุญวิภารัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การแสดงเดี่ยวบาสซูนในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่ใช้ในการแสดงบาสซูน ประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผู้ประพันธ์ในด้านชีวประวัติด้านการประพันธ์ การตีความบทเพลง ศึกษาแนวคิดและเทคนิคการบรรเลง ...
  • วุฒิชัย เรืองศักดิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติ และรูปแบบการแสดงในงานปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ จุฬาฯ มีขอบเขตการศึกษา คือ การแสดงนาฏยศิลป์ในงานปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ จุฬาฯ ปี พ.ศ.2530-พ.ศ.2559 โดยใช้การรวบรวมเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้ทรง ...