Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • วิลาสินี น้อยครบุรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง การจัดการแสดง แสง เสียง ชุด “พนมรุ้งมหาเทวาลัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการจัดการแสดงแสง เสียง ชุด “พนมรุ้งมหาเทวาลัย” ในประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. 2559 การศึกษาครั้งน ...
  • พงศธร ยอดดำเนิน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่องพัฒนาการเรือมกันตรึม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการเรือมกันตรึม องค์ประกอบการแสดงและการรำเรือมกันตรึม โดยขอบเขตของการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาการเรือมกันตรึมที่นางแก่นจันทร์ นามวัฒน์ ประดิษฐ์ขึ้นและพัฒนาอย ...
  • นิเวศ แววสมณะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง “นวัตกรรมการแสดงหุ่นกระบอกไทยเรื่องพระเนมิราช” เป็นงานวิจัยสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์ในการนวัตกรรมหุ่นกระบอกไทย เพื่อสร้างสรรค์รูปแบบหุ่นและการแสดงใหม่สำหรับเด็กและเยาวชน โดยเลือกเนื้อหาจากพระเนมิราชชาดก ...
  • นราฤทธิ์ เอี่ยมศิริ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพการแสดง ประเภทการแสดงนาฏยศิลป์ ผู้วิจัยมุ่ง ศึกษาธุรกิจการแสดงนาฏยศิลป์ สถานภาพการแสดงนาฏยศิลป์ ประเภทการแสดงนาฏยศิลป์ ในนครหลวงเวียงจันทน์ ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ...
  • เอกชัย พุหิรัญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    ดุษฎีนิพนธ์การประพันธ์เพลงเสียงแห่งวัฒนธรรมจากดินแดนศักดิ์สิทธิ์ สำหรับวงวินซิมโฟนี เป็นบทประพันธ์ที่มีการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมด้านเสียงของจักรวรรดิออตโตมันในดินแดนแถบคาบสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน เสียงของวัฒนธ ...
  • ธนกร สรรย์วราภิภู (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง “การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ชุด เดอะวิทรูเวียนแมน” มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบและแนวคิดในการดำเนินการสร้างสรรค์ผลงานนาฏยศิลป์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากภาพเดอะวิทรูเวียนแมนโดย เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo Da ...
  • พสุ เรืองปัญญาโรจน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    ประเทศไทยนั้นมีศิลปะและวัฒนธรรมตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามมาช้านาน ทุนวัฒนธรรมเป็นการนำเอามรดกทางด้านวัฒนธรรมมาสืบสานและต่อยอดในด้านต่างๆ ศิลปะจลศิลป์เป็นการผสมผสานระหว่างความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลอมร ...
  • ฤตพชรพร ทองถนอม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์ การแสดงนาฏยศิลป์สร้างสรรค์ในพิธีอรังกิตรัมในภารตะนาฏยัมเล่มนี้ เป็นการวิจัยในเชิงทดลอง สร้างสรรค์ และสามารถอธิบายออกมาในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อในพิธีอรังกิตรัม (Arangetram) ...
  • ณัฐสุภา เจริญยิ่งวัฒนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    เสื้อผ้าเป็นสินค้าที่ผู้บริโภคมักคุ้นเคยกับการได้เห็นสินค้าจริงก่อนการซื้อมาแต่ไหนแต่ไร แต่เมื่อความนิยมในการซื้อขายทางอินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้น เนื่องจากรูปแบบการใช้ชีวิตที่เน้นความสะดวก ทำให้ผู้บริโภครุ่นใหม่มีแนวโน้มหันมา ...
  • มนูศักดิ์ เรืองเดช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552)
    ศึกษาความเป็นมาของชุมชนหมอลำข้างวัดมัชฌิมาวาส ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี วิเคราะห์องค์ประกอบและกระบวนท่าฟ้อนของหมอลำกลอนทำนองขอนแก่น ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะเอกลักษณ์ในการแสดงหมอลำกลอนและหมอลำซิ่ง ตลอดจนวิเครา ...
  • จิรัชญา บุรวัฒน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาหลักการแสดงของนางศูรปนขา ซึ่งเป็นตัวละครเอกในละครดึกดำบรรพ์ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศูรปนขาชมป่า เกี่ยวกับความเป็นมา องค์ประกอบ และแบบแผนการแสดงนางศูรปนขาและนางศูรปนขาตัวแปลง โดยศึกษาจากเอกสา ...
  • พัชรินทร์ สันติอัชวรรณ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาหลักการแสดงของนางมโนห์รา ซึ่งเป็นตัวละครเอกในละครชาตรีเรื่อง มโนห์รา เกี่ยวกับความเป็นมา องค์ประกอบ และแบบแผนการแสดงเป็นนางมโนห์รา โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ การสังเกต การแสดงบนเวที ...
  • สุรัตน์ชัย สิริรัตนชัยกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาเพลงเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงสารถี 3 ชั้น ทางครูสมภพ ขำประเสริฐ ที่ท่านได้ถ่ายทอดให้กับอาจารย์กฤษฎา ด่านประดิษฐ์ แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ผลจากการศึกษาพบว่า เพลงเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงสารถี 3 ชั้น ทางครูสมภพ ขำประเสริฐ ...
  • อุมาพร เปลี่ยนสมัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    การวิเคราะห์เดี่ยวซอด้วงเพลงกราวใน ทางครูปลั่ง วนเขจร พบว่าเพลงกราวในเป็นเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ เป็นเพลงที่ใช้ในพิธีไหว้ครูเพื่ออัญเชิญให้ครูมาเป็นสิริมงคลในงานและเป็นเพลงบรรเลงประกอบกิริยาของตัวละครฝ่ายยักษ์ ...
  • จินตนา อนุวัฒน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา องค์ประกอบ หลักการและกลวิธีในการรำเชิดฉิ่งเมขลา โดยศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ ตลอดจนการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง โดยศึกษากระบวนท่ารำจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏยศิลป์ไทย ...
  • กฤษณพงศ์ ทัศนบรรจง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552)
    การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและบริบทของเพลงกราวในและวิเคราะห์อัตลักษณ์ทางเดี่ยวระนาดเอกเพลงกราวใน สามชั้น : กรณีศึกษาพันโทเสนาะ หลวงสุนทร ผลจากการศึกษาพบว่า เพลงกราวใน จัดเป็นเพลงหน้า ...
  • อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการ และรูปแบบนาฏยลักษณ์ของฟ้อนล้านนาแบบใหม่ที่เรียกว่าฟ้อนนีโอล้านนา ผู้วิจัยมุ่งศึกษาพัฒนาการการฟ้อนล้านนาแบบใหม่ตามแนวความคิดสร้างสรรค์ของภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ ...
  • วัชราธร เพ็ญศศิธร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    การวิจัยเรื่อง การใช้หลักการจูงใจในภาพถ่ายสำหรับมูลนิธิเพื่อเด็ก เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาจุดจับใจ (Appeal) ในภาพถ่าย การจัดองค์ประกอบภาพถ่าย (Photographic Composition) ...
  • วรวุฒิ หมั่นสุจริต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การแสดงบทบาททศกัณฐ์รำลงสรง ตอน ทศกัณฐ์ลงสวน ที่สืบทอดจากครูอร่าม อินทรนัฏ มาสู่วิทยาลัยนาฏศิลป มุ่งศึกษาว่าใครเป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำการแสดงบทบาททศกัณฐ์รำลงสรง ตอน ทศกัณฐ์ลงสวน ...
  • กวีทัศน์ อะโสต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    งานวิจัยเรื่องดนตรีสำหรับการแสดงหนังตะลุงของคณะครูบุญส่ง ไกรเดช จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามูลบทที่เกี่ยวข้องกับดนตรีสำหรับการแสดงหนังตะลุงในจังหวัดระยอง ศึกษาประวัติและผลงานของนายหนังตะลุง คณะครูบุญส่ง ไกรเดช ...