Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • นนทพร อยู่มั่งมี (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลา ...
  • Alejandro Munoz Garces (Faculty of Art, Chulalongkorn University, 2004)
    In 1923 Blasco lbanez began his tour around the world. He travelled aboard the Franconia, a luxury cruiser from which he would disembark to visit countries in four continents. Right after he returned home, he started writing ...
  • ภาสุรี ลือสกุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    ปาโบล เนรูดา กวีรางวัลโนเบลชาวชิลี ซึ่งโด่งดังจากกลอนรักวัยรุ่น ยี่สิบกลอนรักและหนึ่งเพลงแห่งความสิ้นหวัง (Veinte poemas de amor y una cancion desesperada) กวีนิพนธ์แนวเหนือจริง ที่พำนักบนแผ่นดิน (Residencia en la tierra) ...
  • ลัดดา แก้วฤทธิเดช (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความนี้ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบความเป็นโจรในวรรณคดีรวมนิทานพื้นบ้านสมัยเฮอัน Konjakumonogatarishuu ที่มีโจรเป็นอนุภาคสำคัญของเรื่อง 2 เรื่อง ได้แก่ เรื่องที่ 18 เรื่องของโจรที่ขึ้นไปบนชั้นสองของประตูราโชมอน ได้พบเห็นศพคนตาย ...
  • มนธิรา ราโท (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    ในบทความชิ้นนี้ ผู้เขียนมุ่งวิเคราะห์ตัวละครตื่อหาย ซึ่งเป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งใน เรื่องของเกี่ยว ซึ่งเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของเวียดนาม ประพันธ์ขึ้นโดยกวีเอกเหงียนซู ซึ่งลักษณะเด่นประการหนึ่งของวรรณกรรมเรื่องนี้คือการที่ผู้เ ...
  • สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความชิ้นนี้มุ่งเน้นที่จะสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ “มาเฟีย” โดยหันไปพิจารณาบุคคลกลุ่มนี้ ณ แหล่งที่ถือกำเนิด คือประเทศอิตาลี และโดยเฉพาะที่เกาะซิซิลี ทั้งนี้ โดยผ่านการพิจารณาตั้งแต่จุดกำเนิด ประวัติความเป็นมา อดีตมาเฟียคนสำคัญ ...
  • ธิบดี บัวคำศรี (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    คนขอทานในสังคมไทยสมัยจารีตมีสถานะทางสังคมต่ำสุดเสมอกับทาส แต่แม้ว่าจะมีสถานะดังกล่าวและถูกเหยียดหยาม สังคมสมัยจารีตยอมรับคนขอทานเป็นส่วนหนึ่งของสังคม อยู่ร่วมทุกข์กันในวัฏสงสาร โดยมีทัศนะและวิธีปฏิบัติต่อคนขอทานวางอยู่บน ...
  • โดม ไกรปกรณ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความนี้เป็นการพิจารณาปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐสมัยใหม่-ชุมชน-โจร-การจัดการทรัพยากรธรรมชาติว่า รัฐสมัยใหม่-ชุมชน-โจร-การจัดการทรัพยากรธรรมชาติมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร ข้อคิดสำคัญที่ได้จากการพิจารณาปฏิสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 4 ...
  • อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    สำนวนจีนเริ่มเข้ามาในภาษาไทยเมื่อคนไทยเริ่มแปลวรรณกรรมพงศาวดารจีนมาเป็นพากย์ไทย สำนวนจีนส่วนใหญ่ในวรรณกรรมพงศาวดารจีนแปลไม่มีลักษณะพิเศษทางภาษาเช่นสำนวนที่พบทั่วไป แต่มีลักษณะเป็นภาษาอธิบายขยายความที่ให้ข้อคิดลึกซึ้งและใ ...
  • ณัฐมา พงศ์ไพโรจน์; ปรีมา มัลลิกะมาส (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    ศึกษาปัญหาอิทธิพลของภาษาอังกฤษในบทแปลภาษาไทย โดยการวิเคราะห์ จำแนกประเภท และจัดลำดับปัญหาที่เกิดจากอิทธิพลด้านต่างๆ 3 ประเภท ได้แก่ โครงสร้างคำศัพท์ วลีและสำนวนตายตัวว่าเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากแบบฝึกห ...
  • อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความนี้เป็นสรุปผลการวิจัยที่วิเคราะห์ลักษณะการยืมและความเข้มข้นของการยืมภาษาอังกฤษในภาษาไทยที่ปรากฏในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์คือพระราชหัตถเลขาฯ ที่ตีพิมพ์ในรูปของหนังสือ ...
  • อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทความนี้มุ่งวิเคราะห์กระบวนการยืมคำและการบัญญัติศัพท์ในสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สังคมไทยเริ่มปรับเปลี่ยนเป็นสังคมสมัยใหม่ตามโลกตะวันตกจนถึงปัจจุบัน ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากบทความวิชาการในหนังสือพิมพ์ ...
  • สุวรรณา สถาปัตย์พัฒนา (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทละครของมิเชล วินาแวร์ ได้รับการกล่าวขวัญว่าเป็นบทละครแห่งปัจจุบันกล่าวคือเป็นละครร่วมสมัยที่สะท้อนภาพชีวิตสามัญชนผู้เผชิญวิกฤติต่างๆ ในชีวิตประจำวัน แต่ผลงานของวินาแวร์แตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากละครในขนบเดิม ความสมจริงของ ...
  • แพรวโพยม บุณยะผลึก (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    เสนอผลการวิเคราะห์การยืมคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสเข้ามาใช้ในภาษาไทย สรุปได้ว่าการยืมคำศัพท์ส่วนใหญ่เป็นการยืมทับศัพท์ (ประมาณ 84%) ที่เหลือเป็นการยืมแปล (ประมาณ 10%) และมีจำนวนน้อยที่เป็นคำยืมแปลประสมคำทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ ...
  • บรรจบ บรรณรุจิ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    คำว่า “บวช” เป็นคำไทยที่คนไทยคุ้นเคยกันมานานว่าหมายถึง กิริยาอาการที่ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตประเภทอื่น คำนี้ยังมีอิทธิพลให้เกิดลูกคำอีกเป็นจำนวนมาก ลูกคำเหล่านั้นล้วนสะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตไทยที่ผูกพันอยู่กับพระพุ ...
  • ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    คำมูลซึ่งไม่ทราบที่มาและความหมายในคำสองพยางค์และคำซ้อนภาษาไทยที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้มีอยู่ไม่น้อย คำมูลเหล่านี้บางคำไม่มีที่ใช้เป็นคำโดดในภาษาปัจจุบัน บางคำแม้จะมีปรากฏในหนังสือวรรณคดีเก่าๆ ก็ไม่ทราบความหมาย บางคำมีใช้อยู ...
  • ปราณี กุลละวณิชย์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    การที่ประเทศจะสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ดี ขึ้นอยู่กับคุณภาพของประชาชนของประเทศ ซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาการต่างๆโดยเฉพาะทางเทคโนโลยีเป็นสำคัญ บทความนี้ชี้ให้เห็นว่าแม้ความสามารถในการติ ...
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ในการแปลนั้น ผู้แปลจะต้องตีความเนื้อความหรือตัวบทส่วนที่ต้องแปลให้ถูกต้อง การจะตีความได้ถูกต้องนั้น นอกจากจะต้องเข้าใจสถานการณ์ในการสื่อสาร บทบาทของผู้ส่งสารและผู้รับสาร และเข้าใจวัฒนธรรมต้นทางและปลายทางแล้ว สิ่งที่สำคัญ ...
  • วรุณี อุดมศิลป (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การจำแนกประเภทตัวบทเป็นวิธีหนึ่งที่อาจนำมาใช้วิเคราะห์ลักษณะของเรื่องเล่าในตัวบทเรื่องกาลีเศียรขาด โดยศึกษาทั้งในระดับตอนย่อยและระดับโครงสร้างโดยรวมของตัวบท เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นองค์ประกอบของเรื่องเล่า ไม่ว่าจะเป็นตัวละคร ...
  • ปณิธิ หุ่นแสวง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    หนังสือ ก็องดิดด์ ของวอลแตร์ มีลักษณะหลายประการที่พ้องกับการเล่าเรื่องแบบนิทาน แต่เมื่อพิจารณากลวิธีโดยละเอียดแล้ว จะพบว่าผู้เล่าเรื่องปรากฏตัวอยู่ตลอดเวลาเพื่อพาผู้อ่านจากโลกของนิทานไปสู่ความคิดเชิงปรัชญา ปราสาทของบารอน ...