Arts - Journal Articles: Recent submissions

  • รมย์ ภิรมนตรี (ศูนย์รัสเซียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)
    บทความนี้ชี้ให้เห็นว่าแม้รัสเซียในอดีตจะมีความลึกลับซับซ้อนจนถูกขนานนามว่าอยู่ “หลังม่านเหล็ก” และแม้รัสเซียในปัจจุบันก็ยังคงมีความไม่โปร่งใสในหลายด้าน แต่ทว่าผู้เขียนได้คาดทำนายอนาคตของรัสเซียในทศวรรษหน้าในภาพกว้างๆ ไว้ ...
  • รมย์ ภิรมนตรี (ศูนย์รัสเซียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    ในตอนต้นของบทความนี้จะกล่าวถึงอาณาจักรรัสเซียโบราณ ว่าเป็นสังคมศักดินาเกษตรกรรม มีเจ้าชายแห่งมวลรัสหรือเจ้าชายแห่งเคียฟเป็นผู้ปกครองสูงสุด ทรงพระราชทานที่ดินหรือเมืองต่างๆ ให้เจ้าชายที่เป็นอนุชาหรือโอรสได้ครอบครอง ...
  • จินดารัตน์ เบอรพันธุ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
  • สุริชัย หวันแก้ว (คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
  • ฉันทนา ไชยชิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    บทความเรื่องนี้มีที่มาจากการที่ผู้เขียนได้มีส่วนร่วมเสนอบทความและรับฟังความคิดของนักวิชาการผู้ศึกษาผลงานของเอมิลิ ดิกคินสัน ซึ่งเป็นกวีอเมริกันสำคัญคนหนึ่งในวงการร้อยกรองอเมริกันสมัยใหม่ (Modern American poetry) ...
  • พรรัตน์ ดำรุง (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    บทความวิจัยนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์งานศิลปะการละครแบบขนบนิยม โดยมุ่งนำเสนอแนวคิดของการพัฒนา ปรับเปลี่ยนสาระ รูปแบบ และวิธีการแสดงเพื่อให้งานศิลปะการละครนั้นคงอยู่อย่างมีชีวิต ดำรงไว้ซึ่งความหมายและความงามทางศิลปะ ...
  • ปทมา อัตนโถ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ไม้ยมก เครื่องหมายที่ให้ความหมายหลากหลายกว่าคำใดๆ ในภาษาไทย เป็นเครื่องหมายที่เป็นที่รู้จักกันมานานว่าเป็นตัวบังคับให้อ่านซ้ำคำหรือความที่มาข้างหน้าและมีที่ใช้บ่อยในภาษาพูด หนังสือที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยที่มีเรื่องการใ ...
  • วัลยา วิวัฒน์ศร (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ผู้ที่เขียนทฤษฎีการแปลได้คือผู้ที่มีประสบการณ์การแปลมาก่อน ในบทความเรื่องนี้ ผู้เขียนซึ่งแปลนวนิยายและเรื่องสั้น 11 เรื่อง ของนักประพันธ์ต่างยุคต่างสมัย 6 คน เสนอทฤษฎีการแปลวรรณกรรมจากภาษาตะวันตกเป็นภาษาไทย
  • Jiranthara Srioutai (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    The purpose of this study is to find an effective way to teach the use of the English articles based on Wallace Chafe’s framework of semantic structure. The paper attempts to suggest how a, an, the may be viewed from a ...
  • วิลิตา ศรีอุฬารพงศ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 เป็นต้นมา ได้มีการนำหลักเกณฑ์การเขียนใหม่ในภาษาเยอรมันมาใช้อย่างเป็นทางการในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาราชการอีกสองประเทศคือ สาธารณรัฐออสเตรีย และสมาพันธ์รัฐสวิส ...
  • คารินา โชติรวี (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    เดอะแค็ตเชอร์อินเดอะไรย์ นวนิยายชื่อก้องเรื่องแรกของ เจ ดี แซลินเจอร์ นักประพันธ์ชาวอเมริกันมีอายุครบ 50 ปีในปีนี้ เมื่อแรกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1951 นวนิยายเรื่องนี้สร้างปรากฏการณ์ในวงวรรณกรรม และเป็นที่ประทับใจของนักอ่านโดย ...
  • ชลทิชา สุทธินิรันดร์กุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วารสารอักษรศาสตร์ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา (ปีที่ 21 พ.ศ. 2532 ถึงปีที่ 30 พ.ศ. 2544) ในด้านผู้เขียนบทความ ประเภท ภาษา เนื้อหา และการอ้างอิงของบทความ ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้เขียนบทความส่วน ...
  • พจี ยุวชิต (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    นับตั้งแต่ซิลเวีย แพล็ธ ตัดสินใจจบชีวิตของเธอในปี 1963 เท็ด ฮิวล์ ผู้สามีเลือกที่จะไม่แสดงความคิดเห็นใดๆ เกี่ยวกับเหตุการณ์ดังกล่าว ความเงียบนี้เองเป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้นักวิจารณ์วรรณกรรมตามแนวทางทฤษฎีสิทธิเสมอภาคสตรีประณามว่า ...
  • นพพร ประชากุล (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    นวนิยายเรื่อง โพรงมะเดื่อ ของประมวล ดาระดาษ หนึ่งในเจ็ดเล่มที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่รอบตัดสินรางวัลซีไรต์ประจำปี พ.ศ. 2546 เป็นวรรณกรรมที่สามารถอ่านได้อย่างน้อยจาก 3 แง่มุม ได้แก่ แง่มุมของนวนิยายแนว “ลูกทุ่ง” ที่รื้อฟื้ ...
  • มนธิรา ราโท (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    “จี่แฝ่ว” เป็นเรื่องสั้นที่ประสบความสำเร็จมากเรื่องหนึ่งของนักเขียนนามกาวและได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของเวียดนาม เรื่องสั้นสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่และสภาพจิตใจของชาวนาเวียดนามในสังคม “กึ่งศักดินากึ่งอาณานิยม” ...
  • อรพินท์ คำสอน (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    จากการศึกษานวนิยายของกึนเทอร์ กราสส์เรื่อง Katz und Maus และ Hundejahre และนวนิยายของชาติ กอบจิตติเรื่อง จนตรอก คำพิพากษา พันธุ์หมาบ้า หมาเน่าลอยน้ำ และเรื่อง เวลา ผู้วิจัยพบว่าสุนทรียศาสตร์แห่งความพ่ายแพ้ คือ ความจริงแล ...
  • บรรจบ บรรณรุจิ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    การศึกษาสมัยใหม่พัฒนาผู้หญิงอินเดียได้อย่างแท้จริงในทุกด้านรวมทั้งพัฒนาให้เกิดจิตสำนึกทางการเมืองการปกครองจนเกิดการรวมตัวทำงานร่วมกับผู้ชายเมื่อมีการเคลื่อนไหวเพื่อให้อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษที่ปกครองอินเดียมายาวนาน ...
  • จินตนา ธันวานิวัฒน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    กู่ฉินเป็นเครื่องดนตรีจีนโบราณที่ขงเบ้งใช้บรรเลงบนกำแพงเมืองจีนเพื่อลวงสุมาอี้ในวรรณคดีเรื่อง สามก๊ก กู่ฉินยังเป็นดนตรีประกอบการต่อสู้ฉากสำคัญในภาพยนตร์จีนกำลังภายในเรื่อง Hero บทความวิจัยนี้ศึกษากู่ฉินที่ปรากฏในวรรณคดี ...
  • ถนอมนวล โอเจริญ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    ในนวนิยายเรื่อง “แวร์เธ่อร์ระทม” ผู้ประพันธ์ได้นำเสนอความทุกข์ของตัวละครในฐานะปัจเจกชน และความทุกข์ของตัวละครที่มีต่อสภาวะการดำรงอยู่ของตนเองที่แปลกแยกกับสังคมอย่างงดงามและเป็นเอกภาพกับรูปแบบสุนทรียะด้านการประพันธ์ซึ่งตร ...
  • อิราวดี ไตลังคะ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    นวนิยายเข้ารอบคัดเลือกรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ประจำปี พ.ศ. 2546 เรื่อง ช่างสำราญปีกแดง โลกของจอม เสียงเพรียกจากท้องน้ำ และ อ้วน มีลักษณะที่แตกต่างไปจากขนบการเขียนนวนิยายดังนี้คือ การทำลายขอบ ...