Law - Theses: Recent submissions

  • สมพงษ์ จิวะวิทูรกิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    ปัญหาการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่เป็นเกาะ มีสาเหตุมาจากการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ บนเกาะและในทะเล ซึ่งสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นได้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือในพื้นที่เขตอนุรักษ์จะมีปัญหาคือกา ...
  • สาวิตรี เจริญชัยอักษร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาถึงแนวทางการให้ความคุ้มครองทางกฎหมายแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจ (business methods) โดยศึกษาการให้ความคุ้มครองตามหลักกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นประเทศที่ได ...
  • นฤพนธ์ จ้อยทองมูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาถึงข้อจำกัดของบทบัญญัติความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา และความผิดฐานมีเพศสัมพันธ์กับผู้มีสายเลือดเดียวกันหรือผู้อยู่ใต้ปกครอง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 276 และมาตรา 285 ตามลำดับ ซึ่งบทบัญญัติดังกล่าวยังไ ...
  • สวนิต สตงคุณห์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    "อาวุธปืน’ นอกจากจะใช้เพื่อการกีฬาแล้วมักถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือประกอบอาชญากรรมอีกด้วยทำให้ภาครัฐต้องพิจารณาควบคุมอาวุธปืนของประชาชน ซึ่งการควบคุมดังกล่าวทำให้เกิดทัศนคติ 2 แนวทาง 1. การควบคุมอย่างเข้มงวด โดยมีแนวคิดว่า ...
  • อภิญญา เกษตรเอี่ยม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ปัจจุบันกิจการโรงแรมรวมถึงกิจการให้บริการสถานที่พักแรมชั่วคราวประเภทต่าง ๆ ได้เข้ามามีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชนและมีบทบาทต่อการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศมากขึ้น รัฐจึงควรมีมาตรการในการที่จะควบคุมดูแลกิ ...
  • กรองทอง แย้มสอาด (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ศึกษาเกี่ยวกับการกันผู้ต้องหาไว้เป็นพยาน โดยจะศึกษาถึงข้อพิจารณาตามกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน เนื่องจากการกันผู้ต้องหาไว้เป็นพยานนั้นเป็นวิธีการหนึ่งในการที่จำนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ แต่ผู้ต้องหาที่ถู ...
  • อรดา วงศ์อำไพวิทย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวคับหลักความลับของการอนุญาโตตุลาการ โดยศึกษาหลักความลับของการอนุญาโตตุลาการทั้งในทางแพ่ง ทางอาญา และจริยธรรม เพื่อเสนอแนวทางในการกำหนดหลักความลับของการอนุญาโตตุลาการให้มีความชัดเจน กำหนดขอบเขต ...
  • วราลี เจริญเลิศวิลาศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาอำนาจหน้าที่ในการจัดการทรัพย์สินของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามกฎหมายล้มละลาย ภายหลังที่ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลาย สิทธิการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ถูกจำกัดและมีการตั้งบุคคลภายนอกเข้ามาทำหน้าที่แล ...
  • เอกรินทร์ ไพเราะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ต้องการที่จะศึกษาถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าชายเลน โดยต้องการที่จะทำการศึกษาถึง ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปาชายเลนตลอดจนระดับและรูปแบบขององค์กรประชาชนที่ ...
  • รังสรรค์ พิบูลย์กิจสกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย หลักการ และเหตุผลของการพิจารณาคดีอาญาต่อเนื่องของประเทศไทยและต่างประเทศ โดยวิธีวิจัยจากเอกสาร ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ตำรา บทความ แล้วทำการวิเคราะห์ปัญหา ...
  • พัชราวดี สุนทรศารทูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    การแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยทั่วไปมีรูปแบบมาตรฐานอยู่ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบแรก ใช้แนวความคิดในการลดอุปทานของยาเสพติด (Supply Reduction) โดยมุ่งเน้นในการปราบปรามและลงโทษผู้ผลิตและจำหน่ายยาเสพติด รูปแบบที่สอง ใช้แนวความคิดในการล ...
  • ปริศนา จิรวัฒนพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    โดยหลักกฎหมาย สัญญาแฟรนไชล์เกิดขึ้นตามหลักเสรีภาพของการแสดงเจตนาของคู่สัญญา แต่เนื่องจากสถานะทางเศรษฐกิจและอำนาจการต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งสัญญาแฟรนไชส์ที่ใช้บังคับมักถูกกำหนดโดยผู้ให้สิทธิแต่เพียงฝ่ายเดียว ...
  • สุพัตรา แผนวิชิต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    ธุรกิจแชร์ลูกโซ่ เป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจในรูปแบบของการระดมทุนนอกระบบประเภทหนึ่งที่สร้างความเสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพื่อเป็นการแก่ไขปัญหาด้งกล่าวประเทศไทยจึงได้ตราพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นกา ...
  • คมกริช สังข์ทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ( พ.ศ. 2540 ) มาตรา 237 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2545 ได้มีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ในการจับหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นแนวคิดในการจับการกำหนดให้ศาลเป็นองค์กรเดียวในการออกหมายจับ ...
  • ปาริชาติ โมไนยกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ภาคีของความตกลงว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้าว่าผลประโยชน์ที่ภาคีได้มานั้นจะไม่ถูกทำให้เสียไปโดยการใช้มาตรการที่ไม่ได้กำหนดห้ามไว้อย่างชัดแจ้งในความตกลง จึงมีการกำหนดบทบัญญัติของคำร้องประเภท ...
  • ดวงเดือน สุเทพพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงการแทรกแซงของรัฐในทางเศรษฐกิจในขอบเขตของกฎหมายมหาชน เนื่องจาก ณ ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นระบบผสมที่ยอมรับให้เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบการค้าและอุตสาหกรรม ขณะเดียวกันก็ยอมรับว่ารัฐจ ...
  • คมสัน สุขมาก (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดแนวทฤษฎีและมาตรการบังคับใช้กฎหมายศึกษาถึงความแตกต่างของความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลตลอดจนวิธีการลงโทษนิติบุคคลในประเทศไทยและอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ...
  • ธวัชชัย ว่องพรรณงาม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรที่มีอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ในอดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับพัฒนาการของการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรของไทย จากการศึกษาพบว่า ...
  • ดุษฎี จันทรปรีดา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาถึงข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำนองที่มีการจัดทำในปัจจุบันที่มักจะอยู่ในรูปแบบของสัญญาสำเร็จรูปหรือสัญญามาตรฐาน โดยเจ้าหนี้ผู้รับจำนองเป็นฝ่ายที่มีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจมากกว่าอาศัยหลักเสรีภาพในการทำส ...
  • ศิลาวรรณ พนม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาถึงปัญหาในการดำเนินคดียาเสพติด โดยที่ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ เป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและมีผลกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของประเทศ ในขณะที่การบังคับใช้กฎหมายและการดำเนิน ...