Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • Manasanun Aksornteang (Chulalongkorn University, 2016)
    Abstract This Master Vocal Recital aimed to develop the performer’s vocal techniques, text interpretation, musical analysis, a study on composers and compositions history, parallel to improve the performer to have an ...
  • นิชิสา ทรัพย์สินอำนวย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    ซินโฟเนียของเจ.เอส. บาค เป็นบทเพลงสำหรับเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดในยุคบาโรก มีทั้งหมด 15 บทเพลง โดยการแสดงชุดนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านการบรรเลงเปียโนในลักษณะดนตรีแบบหลายแนวเสียง และเพื่อศึกษาลีลาการบรรเลงเปียโ ...
  • แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวโดย แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ มีจุดประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพในด้านการแสดงขับร้องเดี่ยวอย่างมีมาตรฐาน ผู้แสดงได้คัดเลือกบทประพันธ์ที่มีคุณค่าและมีความเหมาะสมสำหรับการนำเสนอในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งเป็นมาตรฐานโลก ...
  • กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงการขับร้องครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านการร้องของผู้แสดง ทางด้านเทคนิคของการ ขับร้อง ศึกษาประวัติของบทเพลง และประวัติผู้ประพันธ์เพลง การตีความ และการวิเคราะห์บทเพลง รวมถึงการเตรียมการจัดแสดงผลงาน ...
  • สรร ถวัลย์วงศ์ศรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ร่วมสมัยจากแนวคิดความหลากหลายทางเพศ” เป็นการบูรณาการความรู้และแนวคิด ความหลากหลายทางเพศ สัญญะวิทยา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และศิลปกรรมศาสตร์เข้าไว้ด้วยกัน การวิจัยเชิงคุณภาพและเช ...
  • พรศิริ นรบาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    ตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 18 ในยุโรป เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ถูกสร้างขึ้นและมีวิวัฒนาการอย่างสมบูรณ์แบบ เปียโนมีรูปลักษณ์ที่โดดเด่นพร้อมด้วยกลไกที่สามารถสร้างเสียงที่มีความกังวาน ไพเราะ อีกทั้งยังมีระบบเพเดิลที่มีศักยภาพในกา ...
  • ทัศนา นาควัชระ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วอล์ฟกัง อมาเดอุส โมสาร์ท ได้รับการฝึกฝนตั้งแต่เยาว์วัย ให้เชี่ยวชาญทั้งเครื่องดนตรีเปียโนและไวโอลิน งานประพันธ์โซนาตาสำหรับเปียโนและไวโอลินของโมสาร์ท เป็นเครื่องยืนยันถึงความเข้าใจอันลึกซึ้งของเขาในเรื่องของการประสานสัม ...
  • ณรงค์ คุ้มมณี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์รูปแบบ และการค้นหาแนวคิดของนาฏยศิลป์สร้างสรรค์ เรื่อง “บทอัศจรรย์: นาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยจากแนวคิดในวรรณคดีไทย” ถือเป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ที่ควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงคุณภาพ ...
  • เปมิกา เกษตรสมบูรณ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิจัยเรื่องกรรมวิธีการสร้างโพนของครูฉลอง นุ่มเรือง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรรมวิธีการสร้างโพนของครูฉลอง นุ่มเรือง และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพเสียงโพนของครูฉลอง นุ่มเรือง โดยใช้วิธีการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยกา ...
  • วริศรา โรจนาบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงเดี่ยวกีตาร์คลาสสิกโดย วริศรา โรจนาบุตร มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะในด้านการบรรเลงกีตาร์คลาสสิกโดยผู้แสดงได้คัดเลือกบทเพลงที่ต่างยุคต่างสมัยกันเพื่อแสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของดนตรีในแต่ละยุค การแสดงเดี่ยวกีต ...
  • ลลิดา ลัดดากลม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงขับร้องเดี่ยวในครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการแสดงของผู้ขับร้อง ในด้านวิธีการปฏิบัติการขับร้องเดี่ยว การวิเคราะห์บทเพลง ศึกษาประวัติเพลงในยุคต่างๆ รวมถึงผู้ประพันธ์เพลง เพื่อให้เข้าใจถึงบริบททางสังคม ...
  • ธิปก พินิจสกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงเดี่ยวฟลูตในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพ และความสามารถในการบรรเลงฟลูต ผู้แสดงได้คัดเลือกบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำหรับฟลูตจากยุคสมัยต่าง ๆ ในแต่ละบทเพลงจะมีลักษณะของบทเพลงและรูปแบบการประพันธ์ที่แตกต่างกัน ...
  • ธนศักดิ์ อังศุโกมุทกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การแสดงเดี่ยวฟลูตในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบสำหรับการแสดงดนตรีภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎีในการศึกษาระดับมหาบัณฑิต โดยได้ศึกษาองค์ประกอบทางการแสดงทั้งอัตชีวประวัติผู้ประพันธ์ แรงบันดาลใจในงานประพันธ์ องค์ประกอบ ...
  • ปกป้อง ขำประเสริฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิจัยเรื่องนี้มุ่งเน้นศึกษาและรวบรวมประวัติรวมถึงผลงานทางด้านดนตรีไทยของครูสมภพ ขำประเสริฐ โดยวิธีการรวบรวมข้อมูลเอกสารและการสัมภาษณ์บุคคลที่มีผู้เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์แนวทางการสืบทอดองค์ความรู้ด้านดนตร ...
  • ขวัญชัย ชะยูเด็น (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วัตถุประสงค์ของการประพันธ์เพลงที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดน่านของรองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน มีต้นกำเนิดจากการที่ได้เดินทางไปเก็บข้อมูลวัฒนธรรมทางดนตรีในจังหวัดน่านของคณาจารย์สาขาวิชาดุริยางค์ไทย ภาควิชาดุริยางคศิลป์ ...
  • ปวินท์ บุนนาค (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    เมื่อโลกเกิดปัญหาสภาวะความเสื่อมโทรมทางธรรมชาติ จึงเกิดแนวคิดการอนุรักษ์และทำนุบำรุงทรัพยากรโลกให้คงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ รวมไปถึงธุรกิจการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา ส่งผลถึงความนิยมในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ...
  • จิรายุทธ พนมรักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การศึกษาครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยประเภทศิลปะการแสดงเต้นรำเฉพาะที่ (Site-specific dance performance) มีขอบเขตในการศึกษาศึกษาเฉพาะแนวความคิดด้านการ ...
  • ณพงศ หอมแย้ม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการออกแบบเรขศิลป์สื่อสารต้นแบบบุคลิกภาพสำหรับสินค้าที่มีความเกี่ยวพันสูงระหว่างกลุ่มเมโทรเซ็กชวลและกลุ่มอูเบอร์เซ็กชวล โดยต้นแบบบุคลิกภาพหมายถึงแนวคิดทางจิตวิทยาที่ ...
  • กฤติยา กาวีวงศ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์ชิ้นนี้เป็นการศึกษาแบบสหศาสตร์ที่บูรณาการความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ปฏิบัติการภัณฑารักษ์และอาณาบริเวณศึกษา เพื่อวิเคราะห์แนวทางปฏิบัติการภัณฑารักษ์ (the curatorial) เกี่ยวกับเรื่องเล่าขนาดย่อม ...
  • สิริธร ศรีชลาคม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสรรค์รูปแบบและศึกษาแนวคิดที่ได้หลังจากการปฏิบัติการสร้างสรรค์การแสดงผลงานนาฏยศิลป์ร่วมสมัยร่วมกับการฉายภาพสำหรับการแสดงที่มีแนวคิดเรื่องปลากัดและพฤติกรรมการมีอาณาเขตครอบครอง ...