Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • ธนภรณ์ แสนอ้าย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบและค้นหาแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ร่วมสมัย โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัยเชิงสร้างสรรค์และการวิจัยเชิงคุณภาพจากการบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านนาฏยศิลป์ ดุรยางคศิลป์ ...
  • ศุภพร สุวรรณภักดี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    ดุษฎีนิพนธ์งานประพันธ์เพลง ลม-กระซิบ-พราย เป็นผลงานการสร้างสรรค์บทประพันธ์โดยได้รับแรงบันดาลใจและอิทธิพลแนวคิดดนตรีข้ามวัฒนธรรมจากสำเนียงดนตรีพื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ลาหู่ดำ และลาหู่แดง ในบริเวณอำเภอปางมะผ้า ...
  • ภัทราพร เจริญรัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ และเพื่อค้นหาแนวคิดในการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบสหสาขาวิชา จากแนวคิดการสร้างสรรค์งานวรรณกรรม พฤติกรรมมนุษย์ สัญวิทยา ...
  • ณรัฐวรรณ ถิระวราวิสิฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง “การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ตามแนวคิดสัมมาทิฏฐิ” เป็นการผสานองค์ความรู้ทางด้านปรัชญาทางพุทธศาสนาในเรื่องสัมมาทิฏฐิ ศิลปกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหารูปแบบผลงานการแสดง ...
  • พิชชาภัสร์ พิชิตธนารักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    บทประพันธ์ เพรลูด: จินตสำเนียงเสียงแห่งอาเซียนสำหรับเปียโน เป็นผลงานการประพันธ์ที่มีมุมมองจากบทเพลงพื้นบ้าน โดยมีองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความผูกพันระหว่างเสียงดนตรีกับวัฒนธรรมอาเซียน อันได้แก่ ทำนอง จังหวะ ลีลา คีตลักษณ์ ...
  • นริศรา พันธุ์ธาดาพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการศึกษาเรื่องหลักการแปรทำนองจะเข้และซออู้ เพลงทยอยเขมร สามชั้น ของรองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ผู้วิจัยตั้งวัตถุประสงค์ไว้ 2 ประการ คือเพื่อศึกษาหลักการทั่วไปสำหรับการแปรทำนองของจะเข้และซออู้ ...
  • รัฐสินธุ์ ชมสูง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วงสะล้อ ซอ ปิน เป็นศิลปะการแสดงของจังหวัดน่าน มีเอกลักษณ์เฉพาะ 4 ประการคือ การประสมวง บทเพลง ลักษณะเฉพาะของสะล้อ และการฟ้อนประกอบการขับซอ การประสมวงใช้เฉพาะสะล้อและปินบรรเลงทำนองเข้าซอ ไม่ใช้กลองและฉิ่งตีประกอบจังหวะ ...
  • ชนะชัย กอผจญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา ความเชื่อ ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับแมวทั่วไปและแมวไทยทั้ง 5 ชนิด ที่ยังคงปรากฏให้พบเห็นได้ในปัจจุบันและนำมาสังเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์เป็นทำนองเพลง ...
  • สุริยพงษ์ บุญโกมล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    วิทยานิพนธ์เรื่องวิธีการขับร้องหมอลำกลอนของหมอลำ ป.ฉลาดน้อย(ครูฉลาด ส่งเสริม)วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระเบียบวิธีการแสดงหมอลำกลอนของหมอลำ ป.ฉลาดน้อย และเพื่อศึกษากลวิธีการขับร้องหมอลำกลอนของหมอลำ ป.ฉลาดน้อย โดยใช้กลอนลำทา ...
  • อัญญาภ์ แสงเทียน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิจัยเรื่องวิธีการบรรเลงเครื่องสายผสมออร์แกน วงบางขุนพรหมใต้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ผลการวิจัยพบดังนี้ จากการศึกษาประวัติการประสมวง Organology ของออร์แกนและวิธีการบรรเลงพบว่า วงบางขุนพรหมใต้เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 7 ...
  • วราวุฒิ เรืองบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การสร้างสรรค์ผลงานดุริยางคศิลป์ ชุด เพลงมม็วด เป็นการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพิธีกรรมมม็วด อีกทั้งสร้างสรรค์ผลงานดนตรีจากพิธีกรรม รวมไปถึงการจัดการแสด ...
  • กฤษณพงศ์ ทัศนบรรจง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    งานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์ผลงานทางดุริยางคศิลป์ ชุด ต้นข้าวแห่งอัมพวา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดงของจังหวัดสมุทรสงครามและ ภูมิปัญญาของเกษตรกรที่ปลูกข้าวในอำเภออัมพวา ...
  • ดลฤทัย ศรีเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    บทประพันธ์เพลงบทนี้ประพันธ์ขึ้นในรูปแบบบทบรรเลงประชันที่แสดงให้เห็นถึงดนตรีบริสุทธิ์โดยเน้นที่ความลงตัวในการสอดประสานและความไพเราะในการเรียบเรียงเสียงประสานของดนตรีในศตวรรษที่ยี่สิบ ผู้ประพันธ์ได้ศึกษาขอบเขตของเทคนิคการป ...
  • อุบลวรรณ โตอวยพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    ศึกษาองค์ประกอบของพิธีรำผีมอญ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี และศึกษากระบวนท่ารำอันเป็นเอกลักษณ์ของพิธีรำผีมอญอำเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี โดยศึกษากระบวนท่ารำของผู้ประกอบพิธี คือ นางสมจิตร หลวงพันเทา ผลการวิจัยพบว่า ...
  • จรัญ พูลลาภ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการแสดงบทบาทฤษีในโขนเรื่องรามเกียรติ์ ประเภทความเป็นมา รูปแบบ ขั้นตอนและวิธีการแสดงโขนของกรมศิลปากรตั้งแต่ปีพ.ศ. 2488 – 2550 โดยเลือกศึกษาฤษีที่มีบทบาทแตกต่างกัน 3 ตน คือ ...
  • กรองแก้ว แรงเพ็ชร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ผลการศึกษาด้านชีวประวัติ และผลงานของพรเทพ พรทวี ทำให้ทราบว่าพรเทพ พรทวีนั้นเป็นศิลปินที่ได้เรียนรู้ และได้รับการถ่ายทอดศิลปะการแสดงมาจากบิดา ครูอาจารย์ และยังได้สั่งสมประสบการณ์มาเป็นเวลายาวนาน จนสามารถแสดงออก เผยแพร่สู่ ...
  • สาทร กันภัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติชีวิตของครูบุญยัง เกตุคง ศึกษาโครงสร้างและที่มาของทำนองหลักเพลงเชิดจีน สองชั้น ศึกษาการใช้เม็ดพรายสำหรับการบรรเลงระนาดทุ้มเพลงเชิดจีน สองชั้น และศึกษาอัตลักษณ์ในการแ ...
  • วรรลภา พรหมทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    จากการศึกษาพบว่าช่างธีรพันธุ์ ธรรมานุกูล มีความชื่นชอบลักษณะเสียงและรูปทรงซอด้วงแบบโบราณ จึงมุ่งสร้างซอด้วงในลักษณะการอนุรักษ์รูปทรงและลักษณะเสียงให้มีคุณภาพเหมือนซอโบราณ โดยพัฒนารูปทรง และสัดส่วนจากซอของร้านดุริยบรรณ ...
  • รัฐศาสตร์ จั่นเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง นาฏยศิลป์ไทยเพื่อเพิ่มจินตนาการ ผ่านการแสดงแสง-เสียงประกอบจินตภาพ คนดีศรีอยุธยานี้ ผู้วิจัยต้องการศึกษารูปแบบและแนวความคิดในการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์เพื่อเพิ่มจินตนาการ ผ่านการแสดงแสง-เสียงประกอบจินตภาพ ...
  • ปวรงค์ บุญช่วย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วัฒนธรรมย่อยฮิปสเตอร์ (Hipster Subculture) เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมวัยรุ่นที่มีรากฐานมาจากสหรัฐอเมริกา จากนั้นจึงแพร่หลายไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกผ่านสื่อต่างๆ ด้วยภาพลักษณ์และค่านิยมของวัฒนธรรมย่อยฮิปสเตอร์ที่มีลักษณะต่อต้านวั ...