Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • สุดฤทัย ชัยบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากิจกรรมดนตรีที่มีต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญาระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญาระดับปานกลาง อายุระหว่าง 13-18 ปี ระดับเชาวน์ปัญญา ...
  • วงศ์วรรณ คมสราวุธ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    การวิจัยวิธีการฝึกหัดซอสามสาย กรณีศึกษา : ครูเฉลิม ม่วงแพรศรี เอตทักคะทางการสีซอสามสาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการฝึกหัดซอสามสายอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มจากการศึกษาบริบทแวดล้อมได้แก่ ความเป็นมาและลักษระทางกายภาพของซอสามสาย ...
  • อัจฉรา อุ่นใจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทประพันธ์เพลงอันดามันลวีทสำหรับวงชิมโฟนีออร์เคสตรา ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์เพลงบทนี้ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างบทประพันธ์บทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา (Symphonic Poem) การประพันธ์เพลงบทนี้ผู้ประพันธ์ต้องการลื่อให้จินตนาการถึ ...
  • วานิช โปตะวนิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทประพันธ์เพลง ทุ่งสังหาร ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา การประพันธ์เพลงบทนี้ ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อให้ได้จินตนาการถึง บรรยากาศและเรื่องราวในประวัติศาสตร์ ...
  • วีรวรรณ์ จิรโศภิน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การใช้หลักการและองค์ประกอบทางเรขศิลป์ที่สามารถสื่อสารรสและกลิ่นของชาอูหลง จำนวน 4 ชนิด คือ 1. ชาอูหลงกวนอิม 2. ชาบูอี้จุ้ยเชียน 3. ชาอูหลง 4. ชาเกาซันอูหลง และเพื่อกำหนดรูปแบบของ ...
  • เอกนันท์ พันธุรักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมา องค์ประกอบ รวมทั้งกลวิธีการรำเข้าพระเข้านางในการแสดงละคร โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้แสดง นักดนตรี การสังเกตการแสดง การฝึกหัดรำและประสบการ ...
  • วราวุฒิ เรืองบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    การวิจัยดนตรีพิธีกรรมผีฟ้าอีสานเหนือมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพความเชื่อท้องถิ่นที่ทำให้เกิดพิธีกรรมผีฟ้า ศึกษาขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมผีฟ้า และการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของพิธีกรรมเพลงที่ใช้ในพิธีกรรมผีฟ้า วิธีการบรรเ ...
  • ปรารถนา จุลศิริวัฒนวงศ์, 2522- (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    งานวิจัยเรื่อง ละครคณะปรีดาลัยของพระนางเธอลักษมีลาวัณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพระประวัติและผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ ผู้ทรงก่อตั้งละครคณะปรีดาลัย โดยมุ่งศึกษาวิเคราะห์รูปแบบและองค์ประกอบของการแสดงละครเรื่อง ...
  • ดาวใจไพจิตร สุจริตกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อัตลักษณ์การขับร้องเพลงไทยลูกกรุงของ ดาวใจ ไพจิตร นักร้องแผ่นเสียงทองคำพระราชทานและรางวัลเกียรติยศเสาอากาศทองคำ เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลในการสร้างกระบวนการถ่ายโอนต้นแบบการขับร้องของศิ ...
  • ต้นเถา ช่วยประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    บทประพันธ์เพลง คอนแชร์โต สำหรับ ทรัมเป็ตและวงออร์เคสตรา ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างสรรบทประพันธ์เพลงประชันในรูปแบบของดนตรีบริสุทธิ์และต้องการนำเสนอถึงวิธีการประพันธ์ไนรูปแบบดนตรีประชันที่ ...
  • ตติยา เทพพิทักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาแนวทางการออกแบบระบบป้ายสัญลักษณ์สำหรับแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลประเภทเกาะในประเทศไทย 2) หาแนวทางในการออกแบบสัญลักษณ์ภาพที่เหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ และสะท้อนวัฒนธรรมไทย การศึกษานี้เ ...
  • นิจจัง ปิงใจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อหาแนวทางการออกแบบเรขศิลป์ในรายการข่าวโทรทัศน์และเพื่อหาองค์ประกอบที่เหมาะสม วิธีการวิจัยประกอบไปด้วยการหาข้อมูลจากข่าวโทรทัศน์ ช่วงต่าง ๆ ของแต่ละช่อง ทั้งประเทศไทยและสถานีต่างประเทศ ...
  • ธีรเดช กลิ่นจันทร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของการรำเพลงหน้าพาทย์กลมในการแสดงโขน ในเรื่ององค์ประกอบของการรำ กระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์กลมอรชุน และกลมนารายณ์ที่ปรากฏในการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตามรูปแบบการ ...
  • ปรีชา ทองเหลือง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างของสีที่ใช้ในการออกแบบเว็บไซต์กับสีที่ใช้ในการออกแบบประเภทอื่น ๆ 2. เพื่อศึกษาถึงบุคลิกต่าง ๆ ของนักท่องเที่ยวและหลักเกณฑ์ในการจำแนกประเภทของนักท่องเที่ยวในช่วงอายุ ...
  • บุษบา รอดอ้น (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาการแสดงของชาวกะเหรี่ยงคริสต์ ซึ่งศึกษาจากเอกสารงานงานที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ครูผู้สอนรำ นักแสดง ประชาชนชาวกะเหรี่ยงและการสังเกตจากการแสดงจริงจำนวน 3 ครั้ง ตลอดจนการฝ ...
  • ศรินดา ซาลวาลา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา รวบรวม วิเคราะห์การจัดวางองค์ประกอบ, เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนางาน และข้อสรุปถึงหลักการออกแบบเรขศิลป์บนพื้นผิวหน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่อการพาณิชย์ผ่านสื่ออินเทอร์เนต เครื่องมือที่ใช้ในก ...
  • ศิริมงคล นาฏยกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ การแสดงละครเพลงของไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2474 – 2532 เน้นความสำคัญของการศึกษาละครเพลงในปี พ.ศ. 2490 – 2496 ซึ่ง เป็นยุคทองของการแสดงละครเพลงของไทย และนำการแสดงละครเพลงเรื่อง ...
  • นรินทร์ ฟองฟูม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    การวิจัยเรื่อง “ความงามของธรรมชาติที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม”’ เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้าวิธีสร้างผลงานจิตรกรรมที่ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในเชิงบวกจากความงามของธรรมชาติ ในปัจจุบันทรัพ ...
  • ธีรัช เลาห์วีระพานิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    บทประพันธ์เพลงดุษฎีนิพนธ์: นวนิยาย “เพชรพระอุมา” สำหรับวงซินทีสิสแจ๊สออน-ซอมเบิล ประพันธ์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างนวัตกรรมประเภทดนตรีประกอบ ผู้ประพันธ์เพลงนำเรื่องราวจากนวนิยายเพชรพระอุมาภาคแรกมาถอดความ เพื่อสร้างสรรค์ ...
  • ธนัช ชววิสุทธิกูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    การวาทยกรมีบทบาทสำคัญกับวงดนตรีออร์เคสตรามาตั้งแต่ในยุคบาโรก (1600-1750) เมื่อ ฌอง-บาติสต์ ลูว์ลี (1632-1687) ผู้อำนวยการดนตรีในราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นวาทยกรคนแรกในประวัต ...