Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • สาธิต มีชูโภชน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์เพลง “คอนแชร์โตสำหรับวิโอลาและออร์เคสตรา" บทนี้ ประกอบด้วย โครงสร้างใหญ่จำนวน 3 กระบวน สังคีตลักษณ์ที่ใช้ในบทประพันธ์คือ สังคีตลักษณ์โซนาตา สังคีตลักษณ์สามตอน และสังคีตลักษณ์การแปรตามลำดับ มีความยาวประมาณ 17 นาที ...
  • นาฏยา งามเสงี่ยม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    เพลงทยอยเดี่ยวจัดเป็นเพลง “สุดยอดของเพลงเดี่ยว” เพลงหนึ่งเดิมที่พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกรู) “เจ้าแห่งเพลงทยอย” ได้แต่งขึ้นสำหรับเดี่ยวปี่อวดฝีมือ โดยเฉพาะ ต่อมาภายหลัง ครูบาอาจารย์ทางดนตรีไทยหลายๆ ท่านจึงได้นำมาประด ...
  • รัชดาพร สุคโต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งที่จะศึกษารำฉุยฉายพราหมณ์ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ในแง่ของประวิติความเป็นมาและแก่นของรำฉุยฉายพราหมณ์ ตลอดจนกลวิธีการรำฉุยฉายพราหมณ์ จากศิลปิน 3 ท่าน ได้แก่ ...
  • ธรรมรัตน์ โถวสกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง นาฏยประดิษฐ์ในงานโครงการนาฏยศิลป์ของภาควิชานาฏยศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2534-2541 มุ่งศึกษาเกี่ยวรูปแบบและกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ไทยประยุกต์ที่พบ วิธีดำเนินการวิจัย ...
  • ญาดา ชวาลกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การดำเนินวิจัย ประกอบด้วยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผลงานเรขศิลป์ในประวัติศาสตร์ และการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ที่ว่าง เพื่อนำไปเป็นหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ผลงานเรขศิลป์ กำหนดการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ...
  • นฤมล ณ นคร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการแสดงกับพิธีกรรมของชวาในการแสดงละครในเรื่อง อิเหนา ตอน ดรสาแบหลา บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 โดยเลือกศึกษาการรำดรสาแบหลาประเภทรำเดี่ยว การวิจัยนี้ใช้วิธีศึกษาจา ...
  • อนุชา บุญยัง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะท่ารำอากาศตไล ซึ่งเป็นยักษ์ผู้ชายผสมผสานกับยักษ์ผู้หญิง วิธีการวิจัย ใช้การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์โขนตัวอากาศตไล แล้วนำกระบวนท่าทั้งหมดมาวิเคราะห์เพื่อเปร ...
  • จิรวัฒน์ รัตนเทพบัญชากุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาการละเล่นพื้นบ้านที่มีอิทธิพลต่อแนวความคิด รูปแบบ องค์ประกอบของการแสดงและบริบททางสังคมกับนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัย ชุด “ละครไทย พ.ศ. 2533” ผลงานออกแบบนาฏยศิลป์ โดย ศาสตราจารย์ ดร.นราพงษ์ จรัสศรี ด้วยวิธีวิจ ...
  • นิติพงษ์ ทับทิมหิน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติความเป็นมา กระบวนท่ารำ กลวิธี ในการรำ รวมถึงวิเคราะห์ท่ารำเพลงหน้าพาทย์เสมอในการแสดงละครพันทางและบริบททางสังคม โดยเลือกศึกษาเฉพาะกระบวนท่ารำที่สืบทอดโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ...
  • สุวรรณี ชูเสน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    ฉิ่ง เป็นเครื่องดนตรีที่มีความสำคัญมากชิ้นหนึ่งในวงดนตรีไทย มีหน้าที่ในการกำกับจังหวะแสดงให้เห็นถึงจังหวะหนักและจังหวะเบาของเพลง มีอำนาจในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ แต่เนื่องจากยังขาดการศึกษาเรื่องราวของฉิ่งในแนวลึก ...
  • สิรเศรษฐ ปัณฑุรอัมพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์เพลง "กระแสธาร" ประพันธ์ขึ้นในแบบดนตรีนามธรรม โดยมิได้เป็นการพรรณนาอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ในการประพันธ์ผลงานนี้ ผู้ประพันธ์มีวัตถุประสงค์ให้บทประพันธ์เพลงนี้เป็นการเผยแพร่ดนตรีร่วมสมัยในแบบนามธรรมสำหรับผู้ฟังทั่วไป ...
  • ณัฐชยา ไชยศักดา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    เพลงเรื่อง จัดเป็นเพลงโบราณประเภทหนึ่งที่ปรากฎมาแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา เพลงเร็วเรื่องแขกมัดตีนหมู เป็นเพลงเรื่องประเภทหนึ่ง อยู่ในอัตราชั้นเดียว รูปแบบของเพลงเรื่องประเภทนี้คือ เพลงเร็ว และออกด้วยเพลงลา ด้วยจำนวนท่อนที่มีมากถึง ...
  • วราภรณ์ เชิดชู (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    เพลงทยอยเดี่ยว ประพันธ์ขึ้นตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 3 โดยพระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร)สำหรับใช้เดี่ยวปี่เพื่ออวดฝีมือโดยเฉพาะ อีกทั้งยังเป็นเดี่ยวขั้นสูงสุดเพลงหนึ่ง ในวัฒนธรรมดนตรีไทยอัน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเป็นแหล่งสมัย ...
  • สาวิตร พงศ์วัชร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของตัวโขนยักษ์ด้านวัฒนธรรมความเชื่อ และพิธีกรรม ที่จะส่งผลสู่สาระการเรียนรู้ เพื่อถ่ายทอดเชื่อมโยงท่ารำ ศึกษาคุณลักษณะเด่นของศิลปินเอกโขนยักษ์ ให้เกิดรูปแบบการสร้างศิลปินเอกโขนยักษ์ ...
  • สกาวรัตน์ เฉยสอาด (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    จากการวิเคราะห์เดี่ยวจะเข้เพลงเชิดนอกทางอาจารย์ศิวศิษฏ์ นิลสุวรรณ พบว่าเพลงเชิดนอกนั้นมีต้นกำเนิดที่แตกต่างไปจากเพลงทั่วไปกล่าวคือมีต้นกำเนินเป็นเพลงเดี่ยที่ไม่ได้อาศัยเค้าโตรงมาจากทำนองหลักและมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกา ...
  • อโณทัย วิทยวิรานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    ซิมโฟนีหมายเลย 1 ได้รับแรงบันดาลใจจากนักประพันธ์หลายท่านในศตวรรษที่ 20 อาทิอีกอร์สตราวินสกี (1882-1971) เบลา บาร์ตอก (1881-1945) กุสตาฟ มาเลอร์ (1860-1911) และจอหน์ โคริจเลียนโน (1938-) บทประพันธ์นี้เน้นในเรื่องการถ่ายทอ ...
  • อัศนีย์ เปลี่ยนศรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง วิเคราะห์เปรียบเทียบเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงพญาโศก สามชั้น : กรณีศึกษาศิษย์สายพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและบริบทเพลงพญาโศก สามชั้น ตลอดจนวิเคราะห์เปรีย ...
  • เอกชัย พุหิรัญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์นี้ได้รับแรงบันดาลใจจากดาวพลูโตถึงแม้ว่าจะถูกค้นพบมาประมาณ 80 ปีแล้วก้ตามแต่ปัจจุบันก็คงความลึกลับอยู่ทำให้ดาวดวงนี้มีความน่าสนใจที่จะศึกษาอยู่ตลอดเวลาเปรียบเสมือนโลกของดนตรีแม้ว่าการเวลาผ่านไปเท่าใดก็ยังมีสิ่ง ...
  • อรรฆพันธ์ เธียรถาวร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์องค์ประกอบเว็บไซต์ของคณะในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหาแนวทางการออกแบบและกำหนดรูปแบบมาตรฐานเว็บไซต์ของคณะในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ...
  • ปราการ ใจดี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของก๋องปู่จา ศึกษาองค์ประกอบและระบบเสียงของก๋องปู่จา ศึกษาภูมิปัญญาการสร้างก๋องปู่จา และศึกษาระเบียบวิธีปฏิบัติก๋องปู่จา ซึ่งมีขอบเขตการศึกษาเฉพาะพื้นที่อำเภอเมือง ...