Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • ดวงรุ่ง อ่อนสมพงษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    การวิจัยเรื่อง "ผลกระทบของการประชันวงปี่พาทย์วัดพระพิเรนทร์ต่อดนตรีไทย" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของการประชันวงปี่พาทย์วัดพระพิเรนทร์ที่มีต่อนักดนตรีไทย จากการศึกษาพบว่า สมาคมสงเคราะห์สหายศิลปิน เป็นสมาคมท ...
  • ชัชวาล แสงทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    งานวิจัยนี้ดำเนินการศึกษาเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน สามชั้น ทางครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ปรากฏผลว่าทางเดี่ยวทางนี้สืบทอดมาจากครูสุชาติ คล้ายจินดา โดยครูศืบสักดิ์ ดุริยประณีต เดี่ยวระนาด-ทุ้มเพลงกราวในเป็นเพลงเดี่ยวหน้าพาทย์ชั้น ...
  • Navaya Shinasharkey (Chulalongkorn University, 2012)
    Sight reading is an important skill for musicians. Having skillful sight reading definitely enhances musicians’ capacity in learning and performing music. Besides, knowledge of music structures and styles are also the ...
  • นฤพนธ์ คมสัน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบเรขศิลป์สําหรับค่ายมวยไทยฟิตเนส โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็น กลุ่ม Generation Y วิธีการวิจัยใช้แบบสอบถามสําหรับผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านมวยไทยและด้านฟิตเนสเพื่อกําหนดรูปแบบความ ...
  • วรเขต ทะโกษา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    บทประพันธ์เพลงซิมโฟนี “สัญลักษณ์แห่งชัยชนะ” บทนี้ ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์บทเพลงเทิดพระเกียรติในรูปแบบซิมโฟนีพรรณนา กล่าวถึงความหมายของตราสัญลักษณ์ประจำมูลนิธิชัยพัฒนาและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็ ...
  • ใจภักดิ์ บุรพเจตนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    วัตถุประสงค์ของการวิจัยฉบับนี้ เพื่อสร้างแนวทางในการพัฒนามรดกสิ่งทอให้มีรูปแบบร่วมสมัย และเหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบัน โดยการนำลักษณะเด่นของสิ่งทอล้านนา โดยเฉพาะของชาวไทยวนและชาวไทลื้อ มาออกแบบใหม่ ทั้งทางด้านวัสดุ รูปแบบ ...
  • บัณฑิต เข็มทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    การวิจัยเรื่อง บทบาทหนุมานลงสรงในการแสดงโขน มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาองค์ประกอบหลักและแนวทางในการประดิษฐ์ท่ารำ และบทบาทการแสดงชุดหนุมานลงสรง ซึ่งเป็นการรำเดี่ยวเพื่ออวดฝีมือของผู้แสดง นับว่าเป็นกระบวนท่ารำที่ต้ ...
  • อรอุมา เวชกร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    งานวิจัยเรื่อง กลวิธีการบรรเลงจเปยฎองเวงของครูจุม แสงจันทร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทและประวัติชีวิตครูจุม แสงจันทร์ ศึกษากลวิธีการบรรเลงและบทเพลงจเปยฎองเวง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างทางเจรียงกับการดำเนินทำนองจเปยฎองเวง ...
  • วงศ์วสันต์ วสันตสุรีย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาประวัติครูสกล แก้วเพ็ญ และศึกษากลวิธีการสืบทอดดนตรีไทย ของครูสกล แก้วเพ็ญกาศ ผลการวิจัยพบว่า ครูสกล แก้วเพ็ญกาศ เกิดในตระกูลนักดนตรีไทย ศึกษาวิชาดนตรีไทยจากบิดามารดามาแต่เยาว์วัยกับบุคคลในครอบครัวแ ...
  • สุรพงษ์ บ้านไกรทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมประวัติสำนักพระยาภูมีเสวิ(จิตร จิตตเสวี)ศึกษาการถ่ายทอดวิธีการบรรเลงซอสามสาย สำนักพระยาภูมีเสวินและศึกษาบทเพลงที่ใช้เป็นแบบฝึกหัดพื้นฐานและกลวิธีที่พบในบทเพลงสำนักพระยาภูมีเสวิน ...
  • วีรวัฒน์ เสนจันทร์ฒิไชย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    งานวิจัยเรื่องกรรมวิธีการสร้างซอสามสายของครูวินิจ พุกสวัสดิ์ มีวัตถุประสงค์คือ ๑. ศึกษาประวัติการสร้างซอสามสายของครูวินิจ พุกสวัสดิ์ ๒. ศึกษากรรมวิธีการสร้างซอสามสายของครูวินิจ พุกสวัสดิ์ ๓. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพเส ...
  • สุรสิทธิ์ วิเศษสิงห์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประวัติและผลงานนาฏยศิลป์ ของ คุณครูไพฑูรย์ เข้มแข็ง นาฏยศิลปินชั้นนำของประเทศไทย ที่เป็นกำลังสำคัญในการสืบทอดนาฏยศิลป์โขนแบบหลวงมาโดยตลอด ระยะเวลากว่า ๔๐ ปี และเพื่อศึกษากลวิธีก ...
  • เตือนฤดี รักใหม่ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    งานวิจัยเรื่องกระบวนการสร้างกิจกรรมศิลปะที่ได้แรงบันดาลใจจากศิลปะเกี่ยวเนื่องเพื่อการรวมสังคมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษเกิดจากการตั้งคำถามเรื่องบทบาทของงานศิลปะกับการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการมีส่วนร่วม ...
  • บรรพต โปทา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วงเครื่องสายปี่ชวาเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยการนำเอาวงกลองแขกประสมเข้ากับวงเครื่องสายไทย หน้าที่ของผู้บรรเลงจะเข้ภายในวงเป็นการดำเนินทำนองหลักและประคับประคองวงขณะบรรเลง ผู้ที่สามารถบรรเลงจะเข้ในวงเครื่องสายปี่ชวาได้นั ...
  • ประชากร ศรีสาคร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วิทยานิพนธ์เรื่องวิเคราะห์เดี่ยวซอสามสายเพลงพญาโศก พญาครวญ พญารำพึง สามชั้น กรณีศึกษาอาจารย์เจริญใจ สุนทรวาทิน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องกับประวัติของบทเพลงทั้ง 3 เพื่อวิเคราะห์สังคีตลักษณ์ การเคลื่อนที่ของทำนอง ...
  • เอก อรุณพันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การศึกษานาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัย การแสดงชุด “CONTEMPORARY VISUALITY OF THAI PHILOSOPHY OF LIFE” (ภาพลักษณ์ร่วมสมัยในปรัชญาของไทย) ของ ศ.ดร. นราพงษ์ จรัสศรี ด้วยวิธีการ ...
  • ชัยทัต โสพระขรรค์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    งานวิจัยเรื่อง “กระบวนการสร้างและคุณภาพเสียงของโทนรำมะนา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประวัติความเป็นมา บทบาทหน้าที่ กระบวนการสร้าง คุณภาพเสียงของโทนรำมะนา ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย 6 ท่าน ...
  • วรากร เพ็ญศรีนุกูร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    วิทยานิพนธ์ “การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ที่สะท้อนถึงความเชื่อหลังความตายของครูโนรา” เป็นการวิจัยแบบสร้างสรรค์ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสรรค์รูปแบบการแสดงนาฏยศิลป์ และหาแนวคิดในการสร้างงานการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ที่สะท้อนถึงคว ...
  • นิพนธ์ คุณารักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ลักษณะของการใช้ปัจจัยและการจัดองค์ประกอบทางศิลปะและการออกแบบ 2) วิเคราะห์ลักษณะการออกแบบรูปสัญญะและสัญญะความหมาย และ 3) หาแนวทางในการออกแบบบุคลิกลักษณะตัวแสดงที่มีความเหมาะ ...
  • มนวิไล โรจนตันติ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556)
    การวิจัยและสร้างสรรค์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและรูปแบบกิจกรรมทางการศึกษาในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์หน่วยเคลื่อนที่ของฐานความรู้นิทรรศการศิลปะที่เป็นนวัตกรรมการพัฒนาศิลปวิจักษณ์ของผู้ชม และเพื่อสร้างกิจกรร ...