Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • รักษ์สินี อัครศวะเมฆ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง “นาฏยศิลป์สร้างสรรค์สำหรับการแข่งขันยิมนาสติกลีลาในระดับนานาชาติ” มีวัตถุประสงค์ เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 1) เอกสาร 2) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3) สื่อสารสนเทศอื่นๆ 4) ...
  • พิมพ์ชนก สุวรรณธาดา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    บทประพันธ์เพลงดุษฎีนิพนธ์ “สยามดุริยลิขิต” เป็นผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยสำหรับเดี่ยวเปียโน 5 บท เลือกมาจากเพลงไทยต่างประเภทกัน ได้แก่ เพลงโหมโรงไอยเรศ สามชั้น เพลงแสนคำนึง เถา เพลงตับวิวาหพระสมุท เพลงสุดสงวน ...
  • ปานใจ จุฬาพันธุ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    การเป็นนักเปียโนที่มีความสามารถนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญหลายประการ เช่น เทคนิคการบรรเลง การอ่านโน้ต การวิเคราะห์สังคีตลักษณ์ ความเข้าใจในดนตรี การตีความบทเพลง และการจำโน้ตเพลง กระบวนการอ่านโน้ตที่มีประสิทธิภาพจะ ...
  • นิลวรรณา อึ้งอัมพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    “สรีระสัมพันธ์” หมายถึง วิธีการสอนดนตรีผ่านทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างมีจังหวะ และสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับเสียงดนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนักดนตรี (musicianship) ซึ่งประกอบด้วยทักษะสำคัญหลายด้าน ...
  • ธรากร จันทนะสาโร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ และเพื่อค้นหาแนวคิดในการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ ถือเป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบสหสาขาวิชาจากแนวคิดพระพุทธศาสนา ...
  • ดาริณี ชำนาญหมอ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง “การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์เพื่อผู้หญิงกับการยุติความรุนแรง” นี้ เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบและแนวคิดในการสร้างสรรค์งานนาฏยศิลป์เพื่อผู้หญิงกับการยุติความรุนแรง ภายใต้มุมมองที่ว่าผู้ห ...
  • กัญชพร ตันทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    งานวิจัยนี้เป็นการบูรณาการความคล้ายคลึงกันของคลื่นพายุซัดฝั่งและการคลอดบุตร ซึ่งเป็นข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยถ่ายทอดผ่านเทคนิคการเต้นนาฏยศิลป์ร่วมสมัยและลีลารูปแบบที่พบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งเป็นทักษะด้านศิลปศาสตร์ ...
  • ศุภชัย สุริยุทธ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    บทประพันธ์เพลงดุษฎีนิพนธ์สายลมในมิติสุนทรียญาณเป็นผลงานการประพันธ์ที่พัฒนาวิธีการที่ได้รับแรงบันดาลใจจากภาพวาดชุดสายลมในมิติสุนทรียญาณ โดยนำสุนทรียศาสตร์และบทกวีมาสร้างงานประพันธ์เพลงใช้ดนตรีอีสานร่วมกับดนตรีตะวันตกและบร ...
  • ประหยัด ศุภจิตรา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ในการสร้างสรรค์บทประพันธ์เพลงดุษฎีนิพนธ์: คอนแชร์โตสำหรับแซกโซโฟนและวงซิมโฟนีออร์เคสตรา (Concerto for Saxophone and Symphony Orchestra) ได้รับแรงบันดาลใจจากเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ ...
  • รัสวรรณ อดิศัยภารดี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    วิทยานิพนธ์ “การสร้างสรรค์ละครนาฏยศิลป์ไทยในยุคใหม่” นี้ เป็นงานวิจัยแบบสร้างสรรค์ละครนาฏยศิลป์ โดยนำเอาบทประพันธ์เรื่อง “ทวิภพ” ของคุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ นามปากกา ทมยันตี มาดัดแปลงเป็นบทละครนาฏยศิลป์ ซึ่งต้องการสร้างแน ...
  • พันธุ์ชนะ สุนทรพิพิธ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการอย่างง่ายในการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง สำหรับละครเวที ในแนวทางที่มีการปรับแปลงบริบทและเน้นการนำเสนอมุมมองของผู้กำกับการแสดง (Director’s Interpretation) ผ่านศึกษาและลงมือป ...
  • ดุจหทัย วงษ์กะพันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ในปัจจุบันนอกจากจะใช้เสื้อผ้าในการปกป้องร่างกายแล้ว เสื้อผ้านั้นยังสามารถแสดงออกและสะท้อนให้เห็นถึงบุคลิกภาพ รสนิยม และสถานภาพที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล ทั้งนี้รสนิยมทางการแต่งกายที่แตกต่างกันนั้นได้รับอิทธิพลมาจากปัจจัย ...
  • เด่นพงษ์ วงศาโรจน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    การวิจัยเพื่อการสร้างสรรค์จิตรกรรมในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสร้างสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัยที่อาศัยรูปลักษณ์ของมนุษย์เป็นสื่อหลักในการแสดงออก โดยการพิจารณาถึงบริบทแวดล้อมตลอดจนการแสดงออกในเชิงสัญลักษณ์ที่มีต ...
  • ปรารถนา คงสำราญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)
    สร้างสรรค์และค้นหาแนวทางในการออกแบบนาฏยศิลป์ ที่ได้แรงบันดาลใจจากจินตนาการของผู้พิการทางสายตา ผู้วิจัยจึงต้องตั้งประเด็นคำถามในการวิจัยถึง ผลงานการแสดงจากงานวิจัยเรื่อง การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์จากจินตนาการของผู้พิการทางสายตา ...
  • ดนตร์ เพ่งบุญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)
    บทประพันธ์เพลงคอนแชร์โตสำหรับวงดนตรีแจ๊สสามชิ้น บทนี้ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบริสุทธิ์รูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานเนื้อหาของดนตรีคลาสสิกและดนตรีแจ๊ส โดยนำเสนอเนื้อหาในรูปแบ ...
  • ทีฆทัศน์ สุวรรณเครือ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบแนวทางการใช้องค์ประกอบและหลักการทางการออกแบบที่สามารถช่วยยืดความสนใจให้กับกลุ่มเป้าหมายเจเนอเรชั่นแซดได้เพื่อที่จะนำคำตอบที่ได้ไปใช้ในการออกแบบสื่อสมัยใหม่ เช่น เว็บไซต์ ...
  • รุจิภาส ภูธนัญณฤภัทร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    ในการสร้างสรรค์ซิมโฟอุปรากร “พระมหาชนก” ผู้ประพันธ์มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอการผสมผสานดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกประกอบวรรณกรรมไทยในรูปแบบดนตรีเชิงพรรณนา สื่อให้เกิดจินตนาการในเรื่องราวพระมหาชนกซึ่งเป็นชาดกหนึ่งในทศชาติของพ ...
  • รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
    การวิจัยสร้างสรรค์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับสตรีนิยมในสังคมไทยปัจจุบัน 2. แสดงมุมมองของชายไทยที่มีต่อแนวคิดสตรีนิยมในสังคมปัจจุบัน 3. สะท้อนมุมมองของชายไทยต่อแนวคิดสตรีนิยมในสังคมไทยผ่านการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ ...
  • ชาลิสา อภิวัฒนศร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีการสืบทอดวัฒนธรรมเก่าร่วมกับการสร้างสรรค์วัฒนธรรมใหม่ และมีนโยบายในการเผยแพร่วัฒนธรรมสู่สากลที่เรียกว่า คูล แจแปน โพลีซี่ (Cool Japan Policy) ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากประเทศ ...
  • ภัทรพงศ์ เทพยรักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    งานวิจัยเรื่องสถานภาพของนักดนตรีปี่มวยในสนามมวยลุมพินี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของนักดนตรีปี่มวยสนามมวยลุมพินี รวมถึงบทบาทความสำคัญและสถานภาพของนักดนตรีปี่มวยที่สนามมวยลุมพินีในปี พ.ศ. 2499 ถึง พ.ศ.2557 ...