DSpace Repository

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

Sort by: Order: Results:

  • พหลยุทธ กนิษฐบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติและผลงาน รวมถึงวิเคราะห์กระบวนการรำและกลวิธีการแสดงบททศกัณฐ์ในการแสดงโขน ตอน นางลอย ของครูจตุพร รัตนวราหะ ระเบียบวิธีวิจัยในการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ศิลปินอาวุโสผู้ทรงคุณวุฒิ ...
  • ประเสริฐ สันติพงษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติ ความสำคัญ และกระบวนท่ารำของรามสูร อสูรเทพบุตร ในการแสดงเบิกโรงละครใน ชุด เมขลา-รามสูร ผลการวิจัยพบว่า การแสดงเบิกโรงเป็นประเพณีที่มีการแสดงมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ...
  • ทิวา พุทธสุวรรณ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา กระบวนท่ารำตัวนนทุกในการแสดงโขน ชุด นารายณ์ปราบนนทุกของครูทองเริ่ม มงคลนัฏ ผู้วิจัยพบว่ากระบวนท่ารำตัวนนทุก ของครูทองเริ่ม มงคลนัฏ ถือได้ว่าเป็นต้นแบบของกระบวนท่าตัวนนท ...
  • คมชวัชร์ พสูริจันทร์แดง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)
    ศึกษาการรำหน้าพาทย์เพลงกลมของตัวละครเงาะ ในการแสดงละครนอกเรื่องสังข์ทอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ในรูปแบบกระบวนท่ารำของครูทั้ง 2 ท่าน ได้แก่ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ และท่านผู้หญิงแผ้ว ...
  • นันทนา สาธิตสมมนต์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง กลวิธีการแสดงบทบาทนางยักษ์แปลงในละครนอก มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาความเป็นมา องค์ประกอบการแสดง กระบวนท่ารำและกลวิธีในการแสดง โดยเลือกศึกษาบทบาทการแสดงของนางยักษ์แปลง 3 บทบาทได้แก่ บทบาทนางสัน ...
  • สุรสิทธิ์ วิเศษสิงห์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประวัติและผลงานนาฏยศิลป์ ของ คุณครูไพฑูรย์ เข้มแข็ง นาฏยศิลปินชั้นนำของประเทศไทย ที่เป็นกำลังสำคัญในการสืบทอดนาฏยศิลป์โขนแบบหลวงมาโดยตลอด ระยะเวลากว่า ๔๐ ปี และเพื่อศึกษากลวิธีก ...
  • จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ศึกษากลวิธีการแสดงเป็นนางวิฬาร์ ในละครนอกเรื่อง ไชยเชษฐ์ เกี่ยวกับความเป็นมาของบทบาทการแสดงของนางวิฬาร์ องค์ประกอบของการรำของนางวิฬาร์ กระบวนท่ารำ และกลวิธีการรำของนางวิฬาร์ โดยศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ...
  • เอกนันท์ พันธุรักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมา องค์ประกอบ รวมทั้งกลวิธีการรำเข้าพระเข้านางในการแสดงละคร โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้แสดง นักดนตรี การสังเกตการแสดง การฝึกหัดรำและประสบการ ...
  • เฉลิมชัย ภิรมย์รักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    วิทยานิพนธ์เรื่องการขึ้นลอยในการแสดงโขน เป็นการแสดงความสามารถในการต่อตัวขึ้นเหยียบบริเวณลำตัวของคู่ต่อสู้ และยกลำตัวให้ลอยขึ้นจากพื้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขึ้นลอยในการแสดงนาฏยศิลป์และเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ด ...
  • วิลาสินี น้อยครบุรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    วิทยานิพนธ์เรื่อง การจัดการแสดง แสง เสียง ชุด “พนมรุ้งมหาเทวาลัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการจัดการแสดงแสง เสียง ชุด “พนมรุ้งมหาเทวาลัย” ในประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. 2559 การศึกษาครั้งน ...
  • ไกรลาส จิตร์กุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    ศึกษาการตรวจพลของพญาวานรในการแสดงโขน ได้แก่ สุครีพ หนุมาน ชมพูพาน องคต และนิลนนท์ โดยมุ่งศึกษารูปแบบและขั้นตอนกระบวนการจัดทัพตรวจพลตามตำราพิชัยสงคราม ตามบทพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ ฉบับรัชกาลที่ 1 และจากข้อมูลการแสดง ...
  • จิรายุทธ พนมรักษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การศึกษาครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยประเภทศิลปะการแสดงเต้นรำเฉพาะที่ (Site-specific dance performance) มีขอบเขตในการศึกษาศึกษาเฉพาะแนวความคิดด้านการ ...
  • นรีภัค แป้นดี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการประกวดวงกลองยาวโดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรมและรูปแบบการออกแบบสร้างสรรค์การแสดงกลองยาวรูปแบบใหม่จากวงกลองยาวที่เข้าร่วมแข่งขัน โดยการสืบค้นข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร และวิจัยที่เกี่ยวข้อง ...
  • สุภาพร คำยุธา, 2521- (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา และการสืบทอดการฟ้อนอีสานของชนเผ่าผู้ไทย วิเคราะห์รูปแบบ กระบวนท่าฟ้อนรำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ตามแบบชาวบ้านดั้งเดิม โดยศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์บุคคล ซึ่งเป็นผู้ที่มี ...
  • รัตติยา โกมินทรชาติ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา วิเคราะห์รูปแบบ และท่าฟ้อนที่เป็นนาฏยลักษณ์ เฉพาะ ตามแบบชาวบ้านดั้งเดิม โดยศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์บุคคล ซึ่งเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ ศิลปะด้านการฟ้อน ...
  • ปิยมาศ ศรแก้ว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    การฟ้อนของชาวไทลื้อจังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและพัฒนาการการฟ้อนของหญิงและชายไทลื้อ รวมถึงวิเคราะห์ลักษณะท่าฟ้อน โดยศึกษาจากเอกสารงานวิจัย การสัมภาษณ์ การสังเกตจากภาพถ่าย ภาพวีดีทัศน์ ตลอดจนการฝึกหัดขอ ...
  • หฤทัย นัยโมกข์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    วิทยานิพนธ์เรื่องการฟ้อนรำของชาวชอง : กรณีศึกษาหมู่บ้านกระทิง ตำบลพลวง อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการฟ้อนรำของกลุ่มชนชาวชอง ในหมู่บ้านกระทิง จังหวัดจันทบุรี ช่วงปี พ.ศ.2541-2543 ดำเนินการวิจัยโดยการศึกษาจากเอกสาร ...
  • สิทธิรัตน์ ภู่แก้ว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา บทบาท องค์ประกอบ และกระบวนท่าฟ้อนเกี้ยว โดยศึกษาเฉพาะการฟ้อนเกี้ยวของหมอลำกลอนวาดอุบลราชธานี วิธีวิจัยใช้การศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกตการแสดง การสาธิตจากหมอลำเคน ...
  • พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การรำของตัวพราหมณ์ในการแสดงละครนอก ในด้านประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ กระบวนท่ารำและกลวิธีการรำ โดยเลือกศึกษาบทบาทการแสดงของพราหมณ์ที่แปลงตัวมาจากผู้หญิง 3 ชุด ได้แก่ ...
  • เกิดศิริ นกน้อย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและความสำคัญของเพลงหน้าพาทย์กลุ่มเพลงเสมอ รวมทั้งศึกษากระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์กลุ่มเพลงเสมอ องค์ประกอบของการรำ ตลอดจนวิเคราะห์กระบวนท่ารำ และหลักในการรำเพลงหน้าพาท ...