Fine Arts - Theses: Recent submissions

  • ณัฐกมล ถุงสุวรรณ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    งานศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาเกมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยใช้แนวคิดเกมิฟิเคชัน มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดของเกมิฟิเคชันและออกแบบเกมิฟิเคชัน ที่ส่งเสริมการรับรู้ในเนื้อหาเรื่องราวของวัฒนธรรมไทยที ...
  • Nawarit Rittiyotee (Chulalongkorn University, 2019)
    The objective of this research was to study and to shape concepts in the management for publicizing Thai dance in a foreign country.  This study employed Love, Obsession, Revenge, or shortly, LOR as a case study and this ...
  • ชุมพล ชะนะมา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเรื่องยุคทองของนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ค้นหายุคทอง แนวความคิด และรูปแบบการสร้างสรรค์งานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ในช่วง พ.ศ. 2530 – ...
  • ชลาลัย วงศ์อารีย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    วิทยานิพนธ์ เรื่อง “สัญวิทยาแห่งตัวละครหญิงในงานนาฏยศิลป์ร่วมสมัยของนราพงษ์ จรัสศรี” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบและแนวคิดการสร้างงานนาฏยศิลป์ร่วมสมัยเชิงสัญวิทยา รวมทั้งการตีความในเชิงสัญวิทยาเพื่อนำไปสู่ ...
  • พชรษณา สุวรรณกลาง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเชื่อของผู้คนที่มาบนบานศาลกล่าวต่อองค์พระพิฆเนศ  พระตรีมูรติและพระพรหมเอราวัณ  ในเขตพื้นที่ศึกษา บริเวณสี่แยกราชประสงค์ กรุงเทพมหานคร ผลงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ...
  • กนต์ธร สัจจีกูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    การวิจัยนี้เป็นการวิจัยจากการตั้งข้อสังเกตถึงการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในเรื่องของสภาวะปัจจัยทางด้านอารมณ์และความรู้สึก ไปจนถึงกระบวนการสร้างสรรค์เพื่อนำมาซึ่งผลของการวิเคราะห์ให้เกิดผลลัพธ์เป็นที่ประจักษ์ นำสื่อศิลปะภาพพิม ...
  • สัณห์ไชญ์ เอื้อศิลป์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ประวัติ แนวคิดและคุณค่าของนวนิยายเรื่อง เจ้าหญิงพลาเลิศลักษณาวไล สร้างองค์ความรู้และการสร้างสรรค์บทและการประพันธ์ทำนองทางร้อง ดนตรีและกลวิธีการขับร้องสำหรับละครร้องโดยใช้ระเบีย ...
  • รังสรรค์ บัวทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    งานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์เพลงกลองอาเซียน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์เพลงสำเนียงต่าง ๆ สร้างองค์ความรู้กระบวนการสร้างสรรค์เพลงกลองอาเซียนและจัดแสดงเพลงกลองอาเซียน โดยใช้กระสวนจังหวะกลองเป็นหลักใ ...
  • จักรี กิจประเสริฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562)
    ผลงานการสร้างสรรค์ดุษฎีนิพนธ์บทประพันธ์เพลง “ด้วยพระบารมี” คอนแชร์โตสำหรับเปียโนและวงดุริยางค์เครื่องลม เป็นบทประพันธ์เพลงที่จัดอยู่ในรูปแบบดนตรีพรรณนาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์บทเพลงประเภทคอนแชร์โตสำหรับเปียโนและว ...
  • นพศักดิ์ นาคเสนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
  • สุพรรณี บุญเพ็ง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    การวิจัยเรื่องประวัติบัลเล่ต์ในประเทศไทยเป็นการ่วิจัยเชิงประวัติศาสตร์โดยมุ่งศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาและสถานภาพ ของบัลเลต์ในประเทศไทยตั้งแต่ยุคริเริ่มถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2541 โดยศึกษาจากการรวบรวมข้อมูล ค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ...
  • ธิติ ทัศนกุลวงศ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    สํานักเสนาะดุริยางค์ มีชื่อเสียงในสังคมไทยตั้งแต่ยุคต้นรัตนโกสินทร์ถึงปัจจุบัน มีการ สืบสกุลตระกูล “สุนทรวาทิน” มา 4 ชั่วอายุคน พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) เป็นผู้มี บทบาทสําคัญในการถ่ายทอดวิชาดนตรีแก่สังคมไทยแ ...
  • พนิดา บุญทองขาว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เพื่อศึกษาความเป็นมาและพัฒนาการเรือมอันเรหรือการรำกระทบสากของชาวไทยเชื้อสายเขมร รวมถึงวิเคราะห์รูปแบบการแสดงเรือมอันเรแบบฉบับดั้งเดิม และรูปแบบปัจจุบันในจังหวัดสุรินทร์ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ...
  • เชาว์ การวิชา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    สำนักดนตรีเสนาะดุริยางค์ เป็นสำนักที่ใช้อบรมสั่งสอน วิชาการด้านดนตรีไทย โดยมีพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) เป็นด้นราก นักดนตรีที่เป็นศิษย์ของสำนักงานนี้ มีฝีมือและความสามารถเป็นที่ยอมรับในวงการดนตรีไทย ครูสอน วงฆ้อง ...
  • ธวัช ศรีศุภจินดารัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    การวิจัยวิวัฒนาการของการสอนซอด้วง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสอนซอด้วงของศิลปินต้นแบบทั้ง 3 ท่าน ศึกษาท่านั่ง ท่าจับซอด้วง การเตรียมเครื่องดนตรีก่อนการบรรเลง การสอนสีสายเปล่าซอด้วง การไล่เสียงซอด้วงและศึกษาบทเพลงสำ ...
  • ชลิดา จันทร์แก้ว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542)
    วัตรปฏิบัติผู้อ่านโองการไหว้ครู เป็นการปฏิบัติตนที่เป็นการปฏิบัติตนที่เป็นกิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสมอทำให้บุคคลนั้นเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมจนส่งผลให้บุคคลนั้นเป็นผู้อ่านโองการไหว้ครูดนตรีไทยจนเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั้วไป ...
  • นฤบดินทร์ สาลีพันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    ฟ้อนบูชาพระธาตุพนมมีกำเนิดเค้าโครงจากตำนานอุรังคนิทาน และปรากฏเป็นการฟ้อนในพิธีแห่กองบุญงานเดือนสาม ภายหลังได้ปรับเปลี่ยนเป็นการฟ้อนในรูปแบบเพื่อการบันเทิงในงานเทศกาล ซึ่งทำให้ฟ้อนบูชาพระธาตุพนมเกิดการเปลี่ยนแปลง ...
  • ผกามาศ จิรจารุภัทร (2543)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ วิธีการแสดง จุดมุ่งหมายและความสำคัญของการละเล่นของหลวง โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ การสัมภาษณ์ ครูผู้สอน ศิลปินผู้แสดงและนักวิชาการที่มีความรู ...
  • ปิ่นเกศ วัชรปาณ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาของรำวงในประเทศไทย และศึกษารำวงอาชีพ ต.ห้วยใหญ่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ในด้านประวัติ องค์ประกอบการแสดง วิธีแสดง ตั้งแต่พ.ศ. 2504-2521 โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู ...
  • บุญศิริ นิยมทัศน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและรูปแบบของการรำมอญ 12 เพลง ตำบลเกาะเกรัด จังหวัดนนทบุรี ในปี พ.ศ. 2542-2543 โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารการ สัมภาษณ์ตลอดจนการฝึกหัดของผู้วิจัยกับผู้เชี่ยวซาญในตำบลเกาะเกร็ด ...