Law - Theses: Recent submissions

  • เอกวัจน์ กมลเทพา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ปัญหาองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารอันทันสมัย องค์กรอาชญากรรมข้ามชาติมีการดำเนินการในลักษณะที่เป็นองค์กร ปฏิบัติงานกันอย่างมีเครือข่ายซับซ้อน ...
  • อมราลักษณ์ รักษ์วงศ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับการชำระหนี้ที่เป็นไปอย่างยากลำบาก หรือการชำระหนี้ที่เป็นภาระหนักเกินควรแก่คู่สัญญา (hardship) ซึ่งเป็นลักษณะของการชำระหนี้อย่างหนึ่งที่การชำระหนี้ ยังสามารถปฏิบัติการชำระได้ แต่เนื่องจากมีเหตุการณ ...
  • คำพัน บุญพาคม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    กระบวนการยุติธรรมทางอาญาขั้นตอนการพิจารณาของศาลชั้นต้น เป็นการใช้อำนาจของรัฐเพื่อลงโทษผู้กระทำความผิดอาญาโดยศาล ซึ่งเมื่อศาลพิพากษาก็จะมีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของบุคคลอันได้แก่ชีวิต ร่างกายและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ...
  • พรชนก กฤดาธิการ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    เมื่อมีการเลิกบริษัทไม่ว่าโดยสาเหตุใดก็ตาม จะต้องมีการชำระบัญชีเสมอ เพื่อชำระสะสางการงานของบริษัทที่ยังค้างอยู่ให้เสร็จสิ้นไป รวมถึงการรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สินของบริษัท ตลอดจนทำการแบ่งทรัพย์สินที่เหลือคืนแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ...
  • นวลมณี ภูอนันตานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ตั๋วเงินเป็นหนี้ที่มีตราสารและตราสารดังกล่าวถือได้ว่าเป็นตราสารเปลี่ยนมือ จึงอยู่ในบังคับของคุณลักษณะของหนี้ตามตราสารเปลี่ยนมือ 3 ประการ กล่าวคือ ตราสารนั้นก่อตั้งสิทธิและหน้าที่ให้แก่เจ้าหนี้และลูกหนี้ตามตราสาร ...
  • ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาถึงลู่ทางในการเยียวยาสิทธิด้านอาหารของปัจเจกชน โดยตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า “แม้กฎหมายระหว่างประเทศจะรับรองสิทธิด้านอาหารในสถานการณ์ทั่วไปและสถานการณ์ฉุกเฉิน ตลอดจนกำหนดกลไกในการเยียวยา อย่างไรก็ดีการบังคับตามสิทธิขึ ...
  • ชิตพล ลิขิตภูมิสถิตย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    แม้ว่ากฎหมายต้นแบบว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการทางพาณิชย์ระหว่างประเทศ ของคณะกรรมาธิการว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ และกฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการในหลายๆ ประเทศจะได้กำหนดให้คู่กรณีในการอนุญาโตตุลาการมีอิสระ ...
  • ฐิติพร ตังสุรัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาถึงการกำหนดเขตอำนาจศาลในคดีทรัพย์สินทางปัญญาที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับต่างประเทศ และการยอมรับคำพิพากษาของศาลต่างประเทศตามร่างอนุสัญญาว่าด้วยเขตอำนาจและการยอมรับคำพิพากษาในคดีทรัพย์สินทางปัญญา จากการวิจัยพบว่าคดีละเมิดสิท ...
  • ทรรศนีย์ เรืองศิลป์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มีลักษณะเป็นกฎหมายเทคนิค กล่าวคือ กฎหมายดังกล่าวนั้นถูกบัญญัติขึ้นเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม และเพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย จึงได้มีการกำหนดสภาพบังคับเอาไว้ในพระราชบัญ ...
  • โกสินทร์ เธียรสวัสดิ์กิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาแนวทางการใช้มาตรการป้องกันการเลือกใช้อนุสัญญา เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนโดยมิชอบในประเทศไทย โดยผู้เขียนไดศึกษาถึงรูปแบบมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการป้องกันการเลือกใช้อนุสัญญา เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนโดยมิชอบที่มี ...
  • ภาสินี ปรีชาพืช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    เนื่องจากตั๋วเงินเป็นตราสารเปลี่ยนมือ การพิจารณาความรับผิดของคู่สัญญาในตั๋วเงิน จึงพิจารณาจากการลงลายมือชื่อในตั๋วเงิน ซึ่งผู้ลงลายมือชื่อมีขอบเขตความรับผิดตามเนื้อความที่ปรากฏในขณะที่ตนได้ลงลายมือชื่อ ตามมาตรา 900 วรรคแรก ...
  • จักรพันธ์ เชี่ยวพานิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ในการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองนั้น หลักความไม่มีส่วนได้เสียเป็นหลักสำคัญที่มีขึ้นเพื่อควบคุมและกำกับการใช้อำนาจรัฐ ซึ่งหลักความไม่มีส่วนได้เสียมีความหมาย ขอบเขต และผลทางกฎหมายที่มีลักษณะเฉพาะ สำหรับหลักดังกล่าวในประเทศไทยนั้น ...
  • อริศรา ศันสนีย์วิทยกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ศึกษาปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี Bit torrent โดยเฉพาะในเรื่องของการให้ความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์จากการใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าว จากการวิจัยพบว่า แม้ว่าพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 จะสามารถปรับใช้หรือตีความข ...
  • อโณทัย ศรีสมัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ศึกษาถึงลักษณะการใช้อำนาจทางปกครองของแพทยสภาในการควบคุม การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ลักษณะและขอบเขตของการควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการใช้อำนาจดังกล่าวโดยศาลปกครอง พร้อมทั้งศึกษาเปรียบเทียบในเรื่องดังกล่าวกับต่างประเทศ ...
  • จักรพล ลิ้มตระกูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    โดยทั่วไป การยกเลิกหรือแก้ไขฎหมายระดับพระราชบัญญัติที่ออกโดยรัฐสภานั้นต้องกระทำโดยกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์เท่ากันเช่น พระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมา เคยมีกรณีที่รัฐสภาไทยออกพระราชบัญญัติมอบอำนาจให้ฝ่าย ...
  • อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    การมีหนี้เกิดขึ้นและลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้คืนให้แก่เจ้าหนี้ได้ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการติดตาม หรือบังคับคดีทรัพย์สินกลับคืนมาเกิดความล่าช้า และไม่ได้มูลค่าที่ควรจะขายได้ยิ่งก่อให้เกิดความเสี ...
  • สมฤทธิ์ ไชยวงค์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    บุคคลที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด นับว่ามีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากรัฐธรรมนูญคาดหวังว่า บุคคลเหล่านั้นจะเป็นตัวจักรที่สำคัญในการขับเคลื่อนบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเจตนารมณ์ที่ได้ยกร่างรั ...
  • มนูญ แสงงาม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    การเปิดเผยพยานหลักฐานก่อนการพิจารณาคดีอาญานั้นคือ กระบวนการซึ่งคู่ความแต่ละฝ่ายในคดีจะได้ล่วงรู้ถึง พยานหลักฐานซึ่งคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งจะอ้างอิงนำเสนอเป็นพยานหลักฐาน ในประเทศสหรัฐอเมริกา หลักเกณฑ์การเปิดเผยพยานหลักฐานจะมีสองกรณีคือ ...
  • พิพัฒน์ กิจเสถียรพงษ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ศึกษาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานเด็กในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยศึกษาเฉพาะกรณีการใช้แรงงานเด็กในสถานประกอบกิจการประเภทร้านอาหารและสถานบริการนํ้ามัน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครรวมถึงการศึกษาถึงสภาพปัญหา ...
  • แก้วสายจง สายสุวรรณวงศ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    เนื่องจากระบบเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันเป็นระบบการค้าเสรี สปป ลาว จึงต้องดำเนินการปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย เพื่อให้สอดคล้องกับพันธะกรณีระหว่างประเทศ ผู้เขียนจึงพิจารณากฎเกณฑ์ระหว่างประเทศ 4 ฉบับ คือ 1. ความตกลงว่าด้วยมาตรการการลง ...