Pharm - Senior projects: Recent submissions

  • ดวงพรลี ลาวณิชย์; ณัฐพร เพียรศักดิ์นุสรณ์; ศิริโสภา นาคะวงศ์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การจัดแบ่งยประเภทาในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน ซึ่งความไม่เป็นหนึ่งเดียวกันทางกฎหมายควบคุมยาในแต่ละประเทศ ส่งผลให้ประชาชนในแต่ละประเทศทั่วโลกเข้าถึงยาได้ไม่เท่ากัน โดยผู้บริโภคสามารถเข้าถึงยาที่ไม่ต้องใช้ใบสั่งยาจากแพทย ...
  • ชาลิสา ปานสุวรรณ์; ธันยพร เถาสุวรรณ์; นันท์นภัส พลาดิสัย (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    กระแสความนิยมในการใช้ยาแผ่นโบราณที่เพิ่มมากขึ้น นำไปสู่นโยบายภาครัฐที่สนับสนุนการใช้ การผลิต และการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับยาแผนโบราณและแพทย์แผนไทย รวมถึงการเบิกจ่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร อย่างไรก็ตามการผลิตเภสัชตำรับในรพ.จ ...
  • กรชวัล สัมมานนท์; พิมพ์พรรณ สิทธิอัฐกร; วราภรณ์ อำไพสุทธิพงษ์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยที่ใช้ในการผลิตนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ทั้งระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษาในปีงบประมาณ 2557 โดยวิเคราะห์ในมุมมองของผู้ให้บริการทางการศึกษา ...
  • ชญานี ปิ่นแก้ว; วรรณธัช แก้วปานกัน; วิสสุตา ชั้นประเสริฐ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบข้อกำหนดด้านความปลอดภัยและเอกสารมาตรฐานในการรายงานความปลอดภัยตลอดวงจรชีวิตของเภสัชภัณฑ์ในประเทศไทยและอื่นๆ ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศออสเตรเลีย ...
  • ชนสรณ์ สรรพวัฒน์; ธมลวรรณ เอื้อมลฉัตร (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    การจัดการตรวจคัดกรองมะเร็งให้ประชาชนของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละประเทศมีการจัดระบบประกันสุขภาพ รวมทั้งระดับรายได้แตกต่างกัน จึงเป็นที่น่าสนใจว่าแต่ละประเทศมีแนวทางการเบิกจ่ายการตรวจคัดกรองมะเร็งอย่างไร ...
  • วัชรีพรรณ ดุลย์ขุนทด; ญาณิศา พิชิตพร (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    เอกสารกำกับยาสำหรับประชาชนเป็นแหล่งข้อมูลสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ในปี พ.ศ. 2556 อย.ได้ประกาศแนวทางการจัดทำเอกสารกำกับยาเพื่อกำกับให้มีมาตรฐาน และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ...
  • วัจนีย์ สุทธิกาศนีย์; กันต์ฤทัย เพราพันธ์; เกวลี สวัสดี (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    การยื่นขอพิจารณาทะเบียนยาสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น กระดาษ Non-eCTD Electronic Submission (NeeS) และ electronic Common Technical Document (eCTD) หลายๆประเทศมีความพยายามนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการขึ้นทะเบียน ...
  • ชสัฐธร เอกเบญจพล; วทัญญุตา วงศ์ปราโมทย์สิน; สุพิชชา โล่ห์วนิชชัย (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ในปี พ.ศ. 2558 นี้ ได้มีการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจเพื่อก้าวเข้าสู่การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมุ่งเน้นให้เกิดระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันอุตสาหกรรมยาสามัญในภูมิภาคนี้ถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีการนำเข้าแล ...
  • นพสิทธิ์ มุสิวีรพัฒน์; มินทราณี อบรมสุข; สุชญา พรหมยารัตน์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561)
    เคอร์คิวมิน (curcumin) เป็นสารประกอบโพลีฟินอลที่พบในขมิ้นชัน (Curcuma (onga L.) มีศักยภาพในการรักษาโรคได้หลายชนิด อย่างไรก็ตาม curcumin มีค่าการละลายน้ำต่ำ ประมาณ 0.068 ไมโครกรัมต่อมิลลิตร ทำให้เป็นข้อจำกัดในการพัฒนา ...
  • สิริลักษณ์ จินดาพล; จุฑารัตน์ ศศิวชิรางกูล (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    Mycophenolic acid (MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันโดยกลไกการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ nosine monophosphate dehydrogenase (MPDH) MPA ถูกนำมาใช้เพื่อป้องกันการต่อต้านในการปลูกถ่ายไต อย่างไรก็ตาม MPA มีชีวปริมาณออกฤทธิ์ต่ำเนื่ ...
  • สุชาดา แสงวิมาน; ศิริกุล คณาวิวัฒน์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    เคอร์คูมิน (curcumin) เป็นสารพอลิฟินอสที่พบในขมิ้นชัน (Curcuma (onga L.) มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ หลากหลายและมีความปลอดภัยสูง อย่างไรก็ตาม การประยุกด์ใช้เคอร์คูมินในทางคลินิกค่อนข้างจำกัด เนื่องจากเคอร์คูมินถูกเมทาบอไลซ์ ...
  • นันทนัช เอี่ยมหิรัญไกรลาศ; พรจิต คงสุผล (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)
    เคอร์คิวมินไดเอทิลไดซัชิเนทเป็นโปรดรักของเคอร์คิวมินที่มีความคงตัวในบัฟเฟอร์ฟอสเฟต pH 7.4 และฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งสูงกว่าเคอร์คิวมิน อีกทั้งสามารถปลดปล่อยเคอร์คิวมินในพลาสมาได้ นอกจากนี้ การศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของเคอร์คิว ...
  • นัทธพงศ์ จองจิตพิศุทธิ์; ณฐพร สุวรรณ; อารยะ จันทรสิงหาญ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ทูเมอร์เนคโครชิสแฟคเตอร์-อัลฟาเป็นไซโตไคน์ที่ถูกหลั่งออกมาจากแมโครฟาจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบและการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ ในปัจจุบันการวิจัยเพื่อหาตัวยับยั้งการทำงานของทูเมอร์เนคโครซิสแฟคเตอร์ ...
  • ชัญญานุช ราชมณี; ศศิธร มโนมัยวงศ์; พิรุณ ศักดิ์เกรียงไกร (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    Curcumin diethyl disuccinate (CDD) เป็นโปรดรักของ curcumin ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อเพิ่มความคงตัวและ bioavailability ของ curcumin และยังคงมีฤทธิ์ต้านการอักเสบและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีวิเคราะห์หาปริมาณ ...
  • ณภัทร เกี่ยวข้อง; วิรุฬห์ คงคติธรรม (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558)
    กล้วยไม้สกุล Dendrobium ถูกนำมาใช้ประโยชน์ทางยาอย่างแพร่หลายในหวีปเอเชีย อีกทั้งในปัจจุบันมีงานวิจัยมากมายที่ศึกษาเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในกล้วยไม้สกุลนี้ และจากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเบื้องตันของสารสกัดหยาบเ ...
  • เกวลี เชื่อมสามัคคี; พรพิลาส เอกพันธุ์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ไขมันเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่การได้รับไขมันในปริมาณที่มากเกินจำเป็นก็อาจส่งผลให้เกิดภาวะโรคอ้วน มีโรคแทรกซ้อนอื่นๆตามมา เช่น เบาหวานความคันโลหิตสูงและโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ...
  • ปรัชพันธ์ จิราธรวรพัฒน์; นิพาดา อังศิริจินดา; ลลิต์ภัทร เก็บไว้ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ในประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุกรตายอันดับที่ 3 มีการเสียชีวิตปีละประมาณ 30,000 ราย มีผลทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรทางเศรษฐกิจ บุคลากร รวมทั้งสภาวะค้านจิศใจของสู้ป่วย และญาคิผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งโรคคังกล่าวจะแสดงอาการของโรคค ...
  • กมลชนก ศีลวัตรพงษ์; ธนาภรณ์ ธนุดมเสริมสิน; วัชรินทร์ เย็นตั้ง (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)
    ปัญหาภาวะอ้วนเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เพราะฉะนั้นการลดอัตราการเกิดโรคอ้วน จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก หนึ่งในการรักษาโรคอ้วนด้วยการใช้ยาเป็นวิธีหนึ่งที่มีการใช้กัน โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้การรับรองให้มีข้อบ่งใช ...
  • เกศกมล จันทร์โภคาไพบูลย์; ธมลวรรณ ตระการรังสี; พิชญาตรี ขุนฤทธิ์ (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    จากการทดสอบเบื้องต้นพบว่าสารสกัดหยาบด้วย methanal ของเอื้องผึ้งมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสมากกว่าร้อยละ 80 ที่ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดแยกสารที่เป็นองค์ประกอบทางเคมีจาก ...
  • กนกพร ผมงาม; ชิดชนก รุจิระชาติกุล (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560)
    การยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส เป็นกลไกหนึ่งของยาในกลุ่มต้านเบาหวาน โดยที่เอนไซม์นี้ เป็นเอนไซม์สำคัญในการย่อยสารประเภทคาร์โบไฮเดรตให้กลายเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว การยับยั้งเอนไซม์นี้ จะสามารถลดปริมาณการดูดซึมกลูโคสเข ...